Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Ziziphus oenoplia
Ziziphus oenoplia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Ziziphus oenoplia
(L.) Mill., 1768
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Jackal Jujube, Small-fruited Jujube, Wild Jujube
ชื่อไทย::
-
เล็บเหยี่ยว
-
หนามเล็บแมว
ชื่อท้องถิ่น::
-
Li co mae (Karen-Chiang Mai)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Rosales
วงศ์::
Rhamnaceae
สกุล:
Ziziphus
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 19:05 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 19:05 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มพาดพันหรือเลื้อย สูง 3-5 เมตร กิ่งอ่อนมีขนสั้นหนานุ่มและขนแข็งเอน สีน้ำตาล มีหนามแหลมเดี่ยวหรือคู่ มักโค้ง ยาว 3.5-6 มม. มีขนสั้นหนานุ่มสีน้ำตาลที่โคน ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมใบหอกเบี้ยว กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 2.4-6.5 ซม. หลังใบเกลี้ยงหรือมีขน ท้องใบมีขนแบบชิดสีน้ำตาลทอง โคนใบแหลมเบี้ยว ปลายใบแหลมกึ่งแหลมเรียว ขอบใบหยักฟันเลื่อยละเอียด มีเส้นใบออกจากโคนใบ 3-4 เส้น ก้านใบยาว 3-6 มม. มีขนสั้นหนานุ่มสีน้ำตาล ดอกช่อกระจุกออกที่ซอกใบ ดอกย่อย 20-25 ดอก ก้านดอกยาวประมาณ 3 มม. มีขนสั้นหนานุ่มสีน้ำตาล กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันปลายแยกเป็นแฉกรูปสามเหลี่ยมหรือรูปไข่ ยาว 1.5-2 มม. กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาวประมาณ 1 มม. ปลายเว้าตื้น สีเขียว เกสรตัวผู้ยาวเท่าๆ กลีบดอก ผลสดเมล็ดแข็ง รูปทรงกลมหรือทรงรูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม. เมื่อสุกสีดำ ผิวเป็นมัน เมล็ดทรงรูปไข่ 1-2 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
มีเขตการกระจายพันธุ์จากอนุทวีปอินเดียไปทางใต้ของประเทศจีนและทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย ประเทศไทยพบที่จังหวัดขอนแก่น นครราชสีมา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ชัยภูมิ
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
กำแพงเพชร
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Paraboea peninsularis
Alpinia officinarum
Belamcanda chinensis
Bambusa oliveriana
ตะแบกนา
Lagerstroemia floribunda
Dichrocephala integrifolia
Previous
Next