Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Viola angkae
Viola angkae
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Viola angkae
Craib
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
วาสุกรีอ่างก
ชื่อท้องถิ่น::
-
แก้วเกล้า
-
Phia kra thing
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Violaceae
สกุล:
Viola
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก ขนาดเล็ก สูง 6-8 ซม. ใบ เดี่ยว ออกเป็นกลุ่ม 1-5 ใบ ที่ใกล้โคนต้น แผ่นใบรูปหัวใจ กว้าง 0.8-2 ซม. ยาว 0.5-1.5 ซม. ปลายใบแหลมเป็นติ่งโคนใบเว้า ขอบใบหยักห่าง ก้านใบยาว 0.5-3 ซม. ดอก สีเหลือง ออกเป็นดอกเดี่ยวที่ยอด ก้านดอกยาว 1.5-2.5 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ ยาว 4-5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปขอบขนาน ขนาดไม่เท่ากัน กลีบล่างจะแผ่ขยายใหญ่กว่า กลีบอื่น ยาว 6-10 มม. มีแต้มเป็นเส้นยาวสีแดงเข้มที่โคนกลีบดอก เกสรผู้ 5 อัน อยู่เป็นกลุ่มรอบเกสรเมีย เกสรเมียปลายแยกเป็นแฉกสั้น 3 แฉก ผล รูปรี ขนาด 5-6 มม. เมื่อแก่แล้วแตกเป็น 3 พู เมล็ดขนาดเล็ก
-
ไม้ล้มลุก ขนาดเล็ก สูง 6-8 ซม. ใบ เดี่ยว ออกเป็นกลุ่ม 1-5 ใบ ที่ใกล้โคนต้น แผ่นใบรูปหัวใจ กว้าง 0.8-2 ซม. ยาว 0.5-1.5 ซม. ปลายใบแหลมเป็นติ่งโคนใบเว้า ขอบใบหยักห่าง ก้านใบยาว 0.5-3 ซม. ดอก สีเหลือง ออกเป็นดอกเดี่ยวที่ยอด ก้านดอกยาว 1.5-2.5 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ ยาว 4-5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปขอบขนาน ขนาดไม่เท่ากัน กลีบล่างจะแผ่ขยายใหญ่กว่า กลีบอื่น ยาว 6-10 มม. มีแต้มเป็นเส้นยาวสีแดงเข้มที่โคนกลีบดอก เกสรผู้ 5 อัน อยู่เป็นกลุ่มรอบเกสรเมีย เกสรเมียปลายแยกเป็นแฉกสั้น 3 แฉก ผล รูปรี ขนาด 5-6 มม. เมื่อแก่แล้วแตกเป็น 3 พู เมล็ดขนาดเล็ก
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพืชถิ่นเดียวของ ประเทศไทย พบบริเวณทุ่งหญ้า บนผาแง่ม ดอยหัวเสือ อุทยาน แห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ที่ระดับความสูง 1,700-2,100 เมตร
-
เป็นพืชถิ่นเดียวของ ประเทศไทย พบบริเวณทุ่งหญ้า บนผาแง่ม ดอยหัวเสือ อุทยาน แห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ที่ระดับความสูง 1,700-2,100 เมตร
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1111445
1111445
2
PRJNA1089796
1089796
3
PRJDB17608
1079575
4
PRJDB17607
1079574
5
PRJDB14783
1060516
6
PRJNA1054769
1054769
7
PRJEB70565
1045481
8
PRJEB70564
1045480
9
PRJEB69496
1041191
10
PRJEB69495
1041190
11
PRJNA973552
973552
12
PRJNA959579
959579
13
PRJNA954908
954908
14
PRJNA949827
949827
15
PRJNA946018
946018
16
PRJNA927657
927657
17
PRJNA927338
927338
18
PRJNA926185
926185
19
PRJNA901015
901015
20
PRJNA901014
901014
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Piper majusculum
Amomum lappaceum
Sticherus hirtus
Symphysodon siamensis
เถารักน้อย
Dischidia phuphanensis
Merremia quinata
Previous
Next