Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Vernonia parishii
Vernonia parishii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Vernonia parishii
Hook.fil.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
ขางหางเล็ก
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Asterales
วงศ์::
Asteraceae
สกุล:
Monosis
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มรอเลื้อย สูง 2-4 เมตร ลำต้นมีขนปกคลุม ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบลำต้น รูปยาวรี กว้าง 5-12 ซม. ยาว 10-25 ซม. ผิวใบมีขนปกคลุมทั้งสองด้าน ดอก ออกเป็นช่อสีม่วงอ่อน ที่ปลายยอด ก้านช่อดอกยาวได้ถึง 40 ซม. ประกอบด้วยกลุ่ม ช่อดอกย่อยจำนวนมาก รูปทรงกระบอกยาวประมาณ 1 ซม. ดอกย่อยอยู่รวมกันเป็นกระจุกแน่น มีเกสรผู้ 5 อัน ผล ขนาดเล็กมาก สีน้ำตาลดำ มีขนยาวสีขาวติดอยู่ ทำให้เมล็ดปลิวตามลมได้
-
ไม้พุ่มรอเลื้อย สูง 2-4 เมตร ลำต้นมีขนปกคลุม ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบลำต้น รูปยาวรี กว้าง 5-12 ซม. ยาว 10-25 ซม. ผิวใบมีขนปกคลุมทั้งสองด้าน ดอก ออกเป็นช่อสีม่วงอ่อน ที่ปลายยอด ก้านช่อดอกยาวได้ถึง 40 ซม. ประกอบด้วยกลุ่ม ช่อดอกย่อยจำนวนมาก รูปทรงกระบอกยาวประมาณ 1 ซม. ดอกย่อยอยู่รวมกันเป็นกระจุกแน่น มีเกสรผู้ 5 อัน ผล ขนาดเล็กมาก สีน้ำตาลดำ มีขนยาวสีขาวติดอยู่ ทำให้เมล็ดปลิวตามลมได้
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดียถึงเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้พบขึ้นตามพื้นที่โล่ง ปะปนกับไม้พุ่มหรือวัชพืชจำพวก หญ้า ที่ระดับความสูง 900-1,600 เมตร ออกดอกและติดผล ช่วงเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม
-
จากอินเดียถึงเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้พบขึ้นตามพื้นที่โล่ง ปะปนกับไม้พุ่มหรือวัชพืชจำพวก หญ้า ที่ระดับความสูง 900-1,600 เมตร ออกดอกและติดผล ช่วงเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เลือดแรดใบเล็ก
Atuna racemosa
Gastrochilus intermedius
Helicteres isora
ยายปลวก
Meiogyne monosperma
Humata pectinata
Cynoglossum amabile
Previous
Next