Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Uraria acaulis
Uraria acaulis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Uraria acaulis
Schindl.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
หางกระรอก
ชื่อท้องถิ่น::
-
ดอกหางเสือ
-
หางกระรอก
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Uraria
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
พืชล้มลุก แผ่คลุมพื้นดิน สูง 10-30 ซม. ลำต้นและ กิ่งก้านมีขนสีน้ำตาลอ่อนปกคลุม ใบ เป็นใบประกอบแบบ มีใบย่อย 1 ใบ รูปเกือบกลม ขนาด 7.5-23 ซม. ปลายใบมน โคนใบเว้ารูปหัวใจ ผิวใบและก้านใบมีขนหนาแน่น ก้านใบยาวได้ถึง 20 ซม. หูใบรูปสามเหลี่ยม ปลายเรียวแหลม เป็นเส้น ยาว 1-2 ซม. ดอก สีม่วงอ่อนแกมชมพู ออกเป็นช่อตั้ง ยาว 6-10 ซม. ดอกย่อยจำนวนมาก รูปดอกถั่ว ขนาดประมาณ 6-8 มม. ใบประดับรูปหอก สีน้ำตาลแดง ยาว 1-1.5 ซม. กลีบรองดอกปลายแยก 5 กลีบ 3 กลีบล่าง เป็นเส้นสีน้ำตาลแดงอ่อน ยาวประมาณ 8 มม. กลีบดอก 5 กลีบ ขอบกลีบส่วนบนมีสีเข้มกว่า กลีบอื่นๆ ผล เป็นฝักแบน รูปกลมรี กว้างประมาณ 3 มม. มี 1 เมล็ด
-
พืชล้มลุก แผ่คลุมพื้นดิน สูง 10-30 ซม. ลำต้นและ กิ่งก้านมีขนสีน้ำตาลอ่อนปกคลุม ใบ เป็นใบประกอบแบบ มีใบย่อย 1 ใบ รูปเกือบกลม ขนาด 7.5-23 ซม. ปลายใบมน โคนใบเว้ารูปหัวใจ ผิวใบและก้านใบมีขนหนาแน่น ก้านใบยาวได้ถึง 20 ซม. หูใบรูปสามเหลี่ยม ปลายเรียวแหลม เป็นเส้น ยาว 1-2 ซม. ดอก สีม่วงอ่อนแกมชมพู ออกเป็นช่อตั้ง ยาว 6-10 ซม. ดอกย่อยจำนวนมาก รูปดอกถั่ว ขนาดประมาณ 6-8 มม. ใบประดับรูปหอก สีน้ำตาลแดง ยาว 1-1.5 ซม. กลีบรองดอกปลายแยก 5 กลีบ 3 กลีบล่าง เป็นเส้นสีน้ำตาลแดงอ่อน ยาวประมาณ 8 มม. กลีบดอก 5 กลีบ ขอบกลีบส่วนบนมีสีเข้มกว่า กลีบอื่นๆ ผล เป็นฝักแบน รูปกลมรี กว้างประมาณ 3 มม. มี 1 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในภูมิภาคอินโดจีน ประเทศไทยพบทางภาคตะวันออกและภาคเหนือ ที่ระดับความสูงถึง 1,500 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม
-
พบในภูมิภาคอินโดจีน ประเทศไทยพบทางภาคตะวันออกและภาคเหนือ ที่ระดับความสูงถึง 1,500 เมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Trichotosia dasyphylla
Carex cruciata
Peliosanthes macrophylla
มะม่วงปาน
Mangifera gedebe
Isachne pulchella
Globba candida
Previous
Next