Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Upeneus tragula
Upeneus tragula
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Upeneus tragula
Richardson, 1846
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Upeneoides tragula (Richardson, 1846)
- Upeneus tragua Richardson, 1846
ชื่อสามัญ::
-
Freckled goatfish
ชื่อไทย:
-
ปลาแพะลาย
-
หนวดฤๅษี, แพะลาย
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Actinopterygii
อันดับ:
Perciformes
วงศ์::
Mullidae
สกุล:
Upeneus
ที่มา :
โอภาส ชามะสนธิ์ และ ไพรินทร์ เพ็ญประไพ
ปรับปรุงล่าสุด :
19 เม.ย. 2567
วันที่อัพเดท :
20 พ.ย. 2562 14:18 น.
วันที่สร้าง:
20 พ.ย. 2562 14:18 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครศรีธรรมราช
-
บางนรา, นราธิวาส, เกาะสีชัง, ชลบุรี, จันทบุรี, สงขลา, เกาะเสม็ด, เกาะกุฎี, ระยอง
-
ตรัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เกาะกระ
-
พื้นที่บริเวณวางปะการังเทียม ท้องที่ หมู่ที่ 3 บ้านมดตะนอย ตำบลเกาะลิบง อำเภอกันตัง
-
อ่าวไทยตอนล่าง
-
อ่าวไทยตอนล่าง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นปลาขนาดปานกลางที่มีลำตัวยาวและแบนข้าง ปากเล็กยืดหดได้ มีตำแหน่งเปิดค่อนลงมาทางด้านล่างของหัว ใต้คางมีหนวดยาว 2 เส้น ทำหน้าที่คุ้ยหาเหยื่อที่ฝังตัวอยู่ใกล้พื้นท้องน้ำ มีฟันขนาดเล็กคล้ายแปรง บนขากรรไกรมีเกล็ดขนาดใหญ่ ครีบหลังสองตอนแยกห่างออกจากกัน ครีบหลังตอนแรกมีก้านครีบแข็ง 6-8 ก้าน ครีบหลังตอนที่สองมีก้านครีบอ่อนที่แตกแขนง 9 ก้าน โดยก้านครีบอ่อนก้านแรกเป็นก้านครีบอ่อนที่ไม่แตกแขนง ในขณะที่ก้านอื่นๆ จะแตกแขนง ครีบหางเว้าเป็นรูปส้อม ลำตัวมีสีสัน
การกระจายพันธุ์ :
-
บริเวณอ่าวไทยตอนใน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
PMBC-1-OST-6186
PMBC
Alchohol
ทะเล
PMBC-1-OST-6192
PMBC
Alchohol
ทะเล
PMBC-1-OST-14435
PMBC
Alchohol
ทะเล
PMBC-1-OST-30286
PMBC
Alchohol
ทะเล
PMBC-1-OST-30286
PMBC
Alchohol
ทะเล
PMBC-1-OST-34760
PMBC
Alchohol
ทะเล
MCRRCE-1-OST-5
PMBC
Alchohol
ทะเล
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 4 Checklist of FISHES IN THAILAND, 2540
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ข้อมูลสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ โครงการการศึกษาสังคมปลาบริเวณบ้านปลา พื้นที่คลองลัดเจ้าไหม บ้านมดตะนอย จังหวัดตรัง โดยสถานวิจัยความเป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย, บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) 2593
ชนิดปลาบริเวณอ่าวไทยตอนในจากเรือสำรวจประมง 2, กรมประมง, 2563
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน), 2566
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ทากเปลือย
Martadoris amakusana
Harpa major
Carcharhinus obsoletus
Tamba bartelsi
Onthophagus namnaoensis
Oxyurichthys ophthalmonema
Previous
Next