Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Trigonostemon albiflorus
Trigonostemon albiflorus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Trigonostemon albiflorus
Airy Shaw
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Trigonostemon leucanthus AiryShaw
ชื่อไทย::
-
โลดทะนงขาว
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Euphorbiaceae
สกุล:
Trigonostemon
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:39 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:39 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูง 3 เมตร กิ่งอ่อนมีขนนุ่มปกคลุม ใบเดี่ยว ออกเวียนรอบ รูปรีถึงรูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3.5-9 ซม. ยาว 13-30 ซม. โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ ผิวใบมีขนกระจายทั้งสองด้าน ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม เส้นใบหลักที่ฐาน 3 เส้น ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกซอกใบหรือปลายยอด ดอกเพศผู้ สีขาว กลีบเลี้ยงรูปไข่กลับหรือขอบขนาน กว้าง 1-2 มม. ยาว 2-3 มม. ผิวด้านในเกลี้ยง ด้านนอกมีขน กลีบดอกรูปช้อนถึงรูปไข่กลับ กว้าง 1-2 มม. ยาว 3-3.5 มม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านดอกย่อย 1-7 มม. ดอกเพศเมีย สีเขียวอ่อน กลีบเลี้ยงรูปไข่ รังไข่เกลี้ยง ก้านดอกย่อย ยาว 1-2 ซม. ผลแห้งแก่แล้วแตก ค่อนข้างกลม เกลี้ยง
-
ไม้พุ่ม สูง 3 เมตร กิ่งอ่อนมีขนนุ่มปกคลุม ใบเดี่ยว ออกเวียนรอบ รูปรีถึงรูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3.5-9 ซม. ยาว 13-30 ซม. โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ ผิวใบมีขนกระจายทั้งสองด้าน ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม เส้นใบหลักที่ฐาน 3 เส้น ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกซอกใบหรือปลายยอด ดอกเพศผู้ สีขาว กลีบเลี้ยงรูปไข่กลับหรือขอบขนาน กว้าง 1-2 มม. ยาว 2-3 มม. ผิวด้านในเกลี้ยง ด้านนอกมีขน กลีบดอกรูปช้อนถึงรูปไข่กลับ กว้าง 1-2 มม. ยาว 3-3.5 มม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านดอกย่อย 1-7 มม. ดอกเพศเมีย สีเขียวอ่อน กลีบเลี้ยงรูปไข่ รังไข่เกลี้ยง ก้านดอกย่อย ยาว 1-2 ซม. ผลแห้งแก่แล้วแตก ค่อนข้างกลม เกลี้ยง
การกระจายพันธุ์ :
-
พบบริเวณเชิงเขาหินปูน ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 600-800 เมตร ออกดอก เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ติดผลเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
พบบริเวณเชิงเขาหินปูน ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 600-800 เมตร ออกดอก เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ติดผลเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Sagittaria trifolia
Cenchrus echinatus
Angraecum sesquipedale
ชบาป่า
Fagraea tubulosa
สะบันงาเครือ
Artabotrys vanprukii
พู่กระดิ่ง
Paraboea puglisiae
Previous
Next