Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Trichogaster trichopterus
Trichogaster trichopterus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Trichogaster trichopterus
(Pallas, 1770)
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Three spot gouramy
ชื่อไทย::
-
ปลากระดี่หม้อ
-
กระดี่หม้อ
ชื่อท้องถิ่น::
-
เค, อีแกสะป๊ะ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Actinopterygii
อันดับ:
Perciformes
วงศ์::
Osphronemidae
สกุล:
Trichopodus
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
4 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 12:19 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 12:19 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
ลุ่มน้ำปิง, คลองสวนหมาก
-
นาข้าว ดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
-
กุดซิง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ทะเลสาบสงขลา, สงขลา, กรุงเทพมหานคร, แม่แตง, เชียงใหม่, กรุงเทพมหานคร, แพร่, พิษณุโลก, ระยอง, พระนครศรีอยุธยา, แม่น้ำโขง, สงขลา, อุทัยธานี, บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
พรุคันธุลี, พรุไม้ขาว, พรุโต๊ะแดง, พรุในภาคตะวันออก
-
กำแพงเพชร
-
เชียงใหม่
-
นครพนม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
รูปร่างป้อมกว่ากระดี่นาง ส่วนท้ายไม่เรียวเล็กหัวเล็ก ตาเล็ก และปากเล็กอยู่ปลายสุดของจะงอยปาก ลำตัวแบนข้างมาก ส่วนหลังยกสูงเล็กน้อย ครีบอกเล็ก ครีบท้องเป็นเส้นยาว
ครีบหางเว้าตื้นปลายมน เกล็ดใหญ่ ตัวมีสีเทาอมฟ้าหรือสีคล้ำ มีลายเล็กตามแนวขวางหรือเฉียงสีคล้ำ พาดตลอดลำตัวหลายแถบรวมถึงที่ข้างแก้ม กลางลำตัวด้านข้างและ
โคนครีบหางมีจุดสีดำแห่งละจุด ครีบก้นมีจุดประสีสัมหรือเหลืองและขอบสีเหลือง ครีบอื่นใส ครีบหางใสมีประสีคล้ำ ขนาดใหญ่สุด 15 เซนติเมตร พบทั่วไป 8-10 เซนติเมตร
ระบบนิเวศ :
-
อาศัยในแหล่งน้ำนิ่งทั่วไปทุกภาค สามารถอยู่ในแหล่งน้ำที่เป็นกรดหรือใกล้เสียได้
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
การขยายพันธุ์ :
-
ทำรังวางไข่โดยก่อหวอดปนกับเศษหญ้า ตัวผู้เป็น
ผู้ดูแลไข่
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1102721
1102721
2
PRJNA789926
789926
3
PRJNA758064
758064
4
PRJNA560182
560182
5
PRJNA325253
325253
6
PRJNA276223
276223
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 12 Peat Swamp Fishes of Thailand, 2545
OEPP Biodiversity Series Vol. 4 Checklist of FISHES IN THAILAND, 2540
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมประมง
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
กรมประมง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Lyctus tomentosus
ด้วงหนวดยาวกำมะถัน
Cerosterna pollinosa
เหยี่ยวภูเขา
Nisaetus nipalensis,
Neopomacentrus cyanomos
ทากนักล่าดานัง
Atopos tourannensis
ตะเพียนทราย
Barbodes aurotaeniatus
Previous
Next