Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Trias intermedia
Trias intermedia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Trias intermedia
Seidenf. & Smitinand
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Kradum phra in
ชื่อไทย::
-
เขี้ยวแก้ว
-
กระดุมพระอินทร์, เพชรพระอินทร์
-
กระดุมพระอินทร์เพชรพระอินทร์
-
กระดุมพระอินทร์
ชื่อท้องถิ่น::
-
กระดุมพระอินทร์
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Bulbophyllum
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:26 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:26 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Epiphytic orchid.
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปกลม ผิวมัน เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. ใบ หนาและอวบน้ำ รูปขอบ ขนาน ปลายมน กว้าง 1 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ดอก ออกเดี่ยว จากโคนกอ ก้านดอกยาว 1.3-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอก สีครีม มีขีดตามยาวสีน้ำตาล กลีบปากมีประสีน้ำตาลเข้ม ทั่วกลีบ ดอกบานเต็มที่กว้าง 1 ซม.
-
ไม้ต้น
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยรูปกลม ผิวมัน เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. ใบ หนาและอวบน้ำ รูปขอบ ขนาน ปลายมน กว้าง 1 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ดอก ออกเดี่ยว จากโคนกอ ก้านดอกยาว 1.3-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอก สีครีม มีขีดตามยาวสีน้ำตาล กลีบปากมีประสีน้ำตาลเข้ม ทั่วกลีบ ดอกบานเต็มที่กว้าง 1 ซม.
ระบบนิเวศ :
-
Tropical evergreen forest, dry evergreen forest, 0-300 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Endemic.
-
เป็นกล้วยไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบตามป่าดิบทางภาคตะวันออกฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตกและภาคใต้ ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
N & SE Thailand: Sakon Nakhon, Prachinburi, Chantaburi.
-
เป็นกล้วยไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบตามป่าดิบทางภาคตะวันออกฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตกและภาคใต้ ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
SakhonNakhon,Kanchanaburi,PrachinBuri,Chanthaburi,Satun
-
Endemic
-
สกลนคร, กาญจนบุรี, จันทบุรี, ปราจีนบุรี, สตูล, ตะรุเตา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
กล้วยไม้อิงอาศัย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Tropical rain and dry evergreen forests, to 800 m.
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 8 ORCHIDS OF THAILAND, 2542
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Sacciolepis tenuissima
กะเม็ง
Ecipta prostrate
Elatostema stigmatosum
Eria siamensis
Tylophora harmandii
Chlorophytum longissimum
Previous
Next