Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Trewia nudiflora
Trewia nudiflora
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Trewia nudiflora
L.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
มะฝ่อ
ชื่อท้องถิ่น::
-
มะปอบ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Euphorbiaceae
สกุล:
Mallotus
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น ผลัดใบช่วงสั้น โคนต้นมีพูพอนเล็กๆ ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปไข่กว้างแกมรี กว้าง 8-13 ซม. ยาว 10-23 ซม. ปลายใบเรียวแหลม เส้นใบแตกจากฐานใบ 3 เส้น ดอก สีครีมอมเขียว ขนาดเล็ก แยกเพศและอยู่ต่างต้น ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อตามซอกใบ เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 15-22 ซม. ทยอยบานจากโคนไปสู่ปลายช่อ กลีบรองดอก 3-4 กลีบ ขนาด 3.5 มม. ดอกเพศเมียออกเดี่ยวๆ หรือเป็นช่อ ก้านดอกยาว กลีบรองดอก 3-5 กลีบ หลุดร่วงง่าย รังไข่มี 2-4 ช่อง ผล รูปทรงกลม แข็ง ขนาด 2-4 ซม. มีเมล็ดเดียว
-
ไม้ต้น ผลัดใบช่วงสั้น โคนต้นมีพูพอนเล็กๆ ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปไข่กว้างแกมรี กว้าง 8-13 ซม. ยาว 10-23 ซม. ปลายใบเรียวแหลม เส้นใบแตกจากฐานใบ 3 เส้น ดอก สีครีมอมเขียว ขนาดเล็ก แยกเพศและอยู่ต่างต้น ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อตามซอกใบ เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 15-22 ซม. ทยอยบานจากโคนไปสู่ปลายช่อ กลีบรองดอก 3-4 กลีบ ขนาด 3.5 มม. ดอกเพศเมียออกเดี่ยวๆ หรือเป็นช่อ ก้านดอกยาว กลีบรองดอก 3-5 กลีบ หลุดร่วงง่าย รังไข่มี 2-4 ช่อง ผล รูปทรงกลม แข็ง ขนาด 2-4 ซม. มีเมล็ดเดียว
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ตามป่าชุ่มชื้นหรือริมห้วย ที่ระดับความสูง ประมาณ 50-600 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
-
อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ตามป่าชุ่มชื้นหรือริมห้วย ที่ระดับความสูง ประมาณ 50-600 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สุโขทัย
-
ลพบุรี
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
ชุมพร
-
ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Papillaria fuscescens
โมกเครือ
Amphineurion marginatum
Ardisia pubicalyx
ส้มลิง
Guioa pleuropteris
Alangium barbatum
Senegalia megaladena
Previous
Next