Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Thysanostigma siamensis
Thysanostigma siamensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Thunbergia colpifera
B.Hansen
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
บุหงานรา
ชื่อท้องถิ่น::
-
บุหงานรา (ภาคใต้-นราธิวาส)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Acanthaceae
สกุล:
Thysanostigma
วันที่อัพเดท :
1 ก.พ. 2564 09:32 น.
วันที่สร้าง:
1 ก.พ. 2564 09:32 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ล้มลุก
-
เป็นไม้พุ่ม (herb) ขนาดเล็กต้น ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยมมีขนอ่อนปกคลุม (quadrangular pilose stem) ลำต้นด้านหน้าและหลังกว้างกว่าด้านข้าง มีสันเป็นขอบตามยาว ลำต้นสีเขียวปนม่วง ค่อนข้างเหนียวเมื่อต้นแก่ ใบเป็นแบบรูปไข่เกือบเป็นรูปสามเหลี่ยม (ovate-deltoid) โคนใบป้าน (obtuse) จนถึงรูปตัด (truncate) ปลายใบสอบเรียวยาวไปยอดใบ ใบคู่เกิดตรงกันข้ามกัน ใบอ่อนเกิดใหม่ เรียงตัวแบบตรงข้ามสลับตั้งฉาก (de-cussate) ใบสีเขียวเข้ม ผิวใบสากเล็กน้อย หน้าใบมีขนสั้นๆสีขาว หลังใบมีขนปกคลุมมากกว่าหลังใบ ขอบใบหยักมน (crenate) ตื้นๆ และมีขนปกคลุมเล็กน้อย ก้านใบสีเขียวอ่อน มีดอกตลอดปี ดอกออกที่ปลายยอดและตาข้าง แบบช่อกระจะ ดอกเดี่ยวมีก้านดอกสั้นๆ และดอกเรียงระยะห่างๆ บนแกนช่อดอกด้านเดียว มี 7-15 ดอกต่อช่อ ดอกสีขาวนวล มีกลีบเลี้ยงรูปหนามสีเขียว 5 กลีบหุ้มโคนดอก วงกลีบดอก (corolla) เป็นรูปกรวย (funnelform) ยาวประมาณ 1.2 เซนติเมตร กลีบดอกส่วนล่างเชื่อมติดกัน ส่วนบนบานออกคล้ายรูปดอกถั่ว มี 5 กลีบ กลีบล่างลักษณะคล้ายกลีบคู่ล่าง (keel) นูนขึ้นมีสีม่วงแต้มเป็นวงตรงด้านในกลีบดอก อับเรณู (anther) สีเหลืองมีลายเส้นสีม่วงพาดตามยาว 1 เส้น มี 2 คู่ ยาวไม่เท่ากัน (didynamous) ก้านอับเรณู ตัวบนยาวประมาณ 7 มิลลิเมตร ตัวล่างยาวประมาณ 4 มิลลิเมตร ฝักรูปขอบขนาน (oblong) ฝักแก่แตก เมล็ดงอกง่าย
การกระจายพันธุ์ :
-
Pen Thailand: Yala (Bannangsta, Betong), Narathiwat
-
พบขึ้นทั่วไปในพื้นที่โล่ง ดินเหนียวปนลูกรัง ดินลูกรัง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
-
พื้นที่ตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Tropical rain forest, 100-500 m.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
สูง 82.9-101.9 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางลำต้น 7.9-10.9 มิลลิเมตร ขนาดใบยาว 7.33-10.17 เซนติเมตร กว้าง 3.91-4.84 เซนติเมตร ก้านใบยาว 2.8-4.94 เซนติเมตร ก้านใบขยายออกคล้ายใบ (leafy petiole) ขนาดกว้างประมาณ 2-3 มิลลิเมตร ช่อดอกยาว 14.07-23.63 เซนติเมตร ฝักยาว 2.43-2.99 เซนติเมตร กว้าง 0.32-0.48 เซนติเมตร มี 6-13 ฝักต่อช่อ
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
สถานที่ชม :
-
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์นครราชสีมา, ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์สตูล
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยเมล็ด
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1149466
1149466
2
PRJNA1148014
1148014
3
PRJNA1080347
1080347
4
PRJDB17565
1077138
5
PRJNA1070630
1070630
6
PRJDB17284
1058881
7
PRJNA1053827
1053827
8
PRJNA1022477
1022477
9
PRJNA993791
993791
10
PRJNA988934
988934
11
PRJNA971130
971130
12
PRJNA942652
942652
13
PRJNA937431
937431
14
PRJNA934152
934152
15
PRJNA927751
927751
16
PRJNA894992
894992
17
PRJNA883283
883283
18
PRJNA867497
867497
19
PRJNA866213
866213
20
PRJDB1035
865968
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
องุ่นป่า
Tetrastigma quadrangulum
Isachne confusa
Anthogonium gracile
ธนนไชย
Buchanania siamensis
Asplenium siamense
Mallotus apelta
Previous
Next