Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Thepparatia thailandica
Thepparatia thailandica
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Thepparatia thailandica
Phuph.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
เครือเทพรัตน์
ชื่อท้องถิ่น::
-
ชบาเถา
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malvales
วงศ์::
Malvaceae
สกุล:
Thepparatia
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
1 มี.ค. 2567
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
7 ต.ค. 2562
วันที่อัพเดท :
11 ต.ค. 2561 00:00 น.
วันที่สร้าง:
11 ต.ค. 2561 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาวได้ถึง 20 เมตร ดอกสีเหลืองอ่อนมีแถบสีแดง เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคเหนือที่จังหวัดตาก ใกล้ชายแดนไทย-พม่า ขึ้นตามหุบเขาที่ลาดชันใกล้ลำธาร ในป่าดิบแล้ง ระดับความสูงประมาณ 700 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาวได้ถึง 20 เมตร ดอกสีเหลืองอ่อนมีแถบสีแดง เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคเหนือที่จังหวัดตาก ใกล้ชายแดนไทย-พม่า ขึ้นตามหุบเขาที่ลาดชันใกล้ลำธาร ในป่าดิบแล้ง ระดับความสูงประมาณ 700 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาวได้ถึง 20 เมตร ดอกสีเหลืองอ่อนมีแถบสีแดง เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคเหนือที่จังหวัดตาก ใกล้ชายแดนไทย-พม่า ขึ้นตามหุบเขาที่ลาดชันใกล้ลำธาร ในป่าดิบแล้ง ระดับความสูงประมาณ 700 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาวได้ถึง 20 เมตร ดอกสีเหลืองอ่อนมีแถบสีแดง เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคเหนือที่จังหวัดตาก ใกล้ชายแดนไทย-พม่า ขึ้นตามหุบเขาที่ลาดชันใกล้ลำธาร ในป่าดิบแล้ง ระดับความสูงประมาณ 700 เมตร จากระดับน้ำทะเล
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาวได้ถึง 20 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 ซม. มีขนรูปดาวกระจายตามแผ่นใบด้านบน ก้านใบ ช่อดอก ริ้วประดับ และกลีบเลี้ยง ใบเรียงเวียน รูปฝ่ามือ มี 3-5 แฉกตื้น ๆ ขอบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ แผ่นใบด้านบนมีต่อมทั่วไป ก้านใบยาว 5-10 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามปลายกิ่ง ยาว 20-30 ซม. ดอกจำนวนมาก ริ้วประดับติดทน มี 5-7 กลีบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจำนวนอย่างละ 5 กลีบ ดอกสีเหลืองอ่อนหรือสีครีม มีแถบสีแดง กลีบรูปไข่กลับ ยาว 3-3.5 ซม. ปลายกลีบม้วนออก เส้าเกสรเพศผู้ยาว 1.5-2 ซม. อับเรณูรูปเกือกม้า ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.6 ซม.
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาวได้ถึง 20 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 ซม. มีขนรูปดาวตามท้องใบ ก้านใบ ช่อดอก ริ้วประดับ และกลีบเลี้ยง หูใบร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปฝ่ามือ 3-5 พูตื้น ๆ กว้าง 7-12 ซม. ยาว 8-12 ซม. ขอบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ ด้านบนมีต่อมกระจาย ก้านใบยาว 5-10 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะออกตามปลายกิ่ง ห้อยลง ยาวได้ถึง 20 ซม. ก้านดอกยาว 1.5-1.8 ซม. ก้านมีติ่ง ริ้วประดับ 5-7 อัน เชื่อมติดกันที่โคน สีเขียวอมแดง รูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 0.7-1 ซม. ติดทน กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แฉกลึก รูปขอบขนาน ยาว 1-1.5 ซม. เส้นกลีบเป็นสัน ดอกสีเหลืองครีมมีปื้นสีแดง มี 5 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 3-3.5 ซม. ปลายกลีบพับงอ เส้าเกสรยาว 1.5-2 ซม. ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1 มม. อับเรณูรูปเกือกม้าสีเหลือง รังไข่มีขนหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.6 ซม.
-
ไม้เถา ยาวได้ถึง 20 เมตร ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ ออกหนาแน่นบริเวณปลายกิ่ง ใบรูปฝ่ามือ กว้าง 7-12 ซม. ยาว 8-12 ซม. มี 3-5 แฉกตื้นๆ ขอบใบหยักฟันเลื่อยห่างๆ แผ่นใบด้านบนมีต่อม ก้านใบยาว 5-10 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ห้อยลง ยาว 10-15 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ ปลายสีเหลืองอมเขียว โคนกลีบสีแดง เกสรเพศผู้เชื่อมกันเป็นหลอด รังไข่มีขนหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.5 ซม.
-
ไม้เถา ยาวได้ถึง 20 เมตร ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ ออกหนาแน่นบริเวณปลายกิ่ง ใบรูปฝ่ามือ กว้าง 7-12 ซม. ยาว 8-12 ซม. มี 3-5 แฉกตื้นๆ ขอบใบหยักฟันเลื่อยห่างๆ แผ่นใบด้านบนมีต่อม ก้านใบยาว 5-10 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ห้อยลง ยาว 10-15 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ ปลายสีเหลืองอมเขียว โคนกลีบสีแดง เกสรเพศผู้เชื่อมกันเป็นหลอด รังไข่มีขนหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.5 ซม.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ตาก
-
Endemic
การกระจายพันธุ์ :
-
พบบริเวณหุบเขาที่ลาดชัน ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 700-800 เมตร ออกดอก เดือนมีนาคม
-
N Thailand: Tak (Tha Song Yang)
-
พบบริเวณหุบเขาที่ลาดชัน ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 700-800 เมตร ออกดอก เดือนมีนาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Dry evergreen forest.
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หนังสือพรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Psychotria stipulacea
Argostemma propinquum
Bulbophyllum morphologorum
ลำบิดดง
Diospyros filipendula
นมควาย
Uvaria hahnii
Alphonsea javanica
Previous
Next