Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Thaiphusa sirikit
Thaiphusa sirikit
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Thaiphusa sirikit
(Naiyanetr, 1992)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Demanietta sirikit Naiyanetr, 1992
ชื่อสามัญ::
-
Brachyura
-
Regal crab
ชื่อไทย:
-
ปูราชินี
-
ปูราชินี,ปูไตรรงค์
ชื่อท้องถิ่น::
-
ปูสามสี,ปูไตรรงค์,ปูป่า
-
ปูสามสี
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Arthropoda
ชั้น::
Malacostraca
อันดับ:
Decapoda
วงศ์::
Potamidae
สกุล:
Thaiphusa
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
1 มี.ค. 2567
ที่มา :
กรมประมง
ปรับปรุงล่าสุด :
21 พ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
7 ต.ค. 2562
วันที่อัพเดท :
11 ต.ค. 2561 00:00 น.
วันที่สร้าง:
11 ต.ค. 2561 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ปูราชินี มีสามสี คือ สีแดง สีขาว สีน้ำเงินม่วงดำ โดยขาเดินทั้ง 4 คู่ เป็นสีแดง ขนาดความกว้างของกระดอง 17 – 48 มม. ด้านข้างของกระดองทั้งสองพร้อมด้วยก้ามหนีบทั้งสองข้างเป็นสีขาว ตรงกลางกระดองพร้อมด้วยเบ้าตาเป็นสีน้ำเงินม่วงดำ และบริเวณริมฝีปากเป็นสีแดงกระดอ
-
ปูราชินี มี ๓ สี คือ สีแดง สีขาว สีนํ้าเงินม่วงดำ พบเฉพาะที่ลำห้วยเขย่ง อำเภอทองผาภูมิ และอุทยานแห่งชาติไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี
-
ฟปูราชินี มี ๓ สี คือ สีแดง สีขาว สีนํ้าเงินม่วงดำ พบเฉพาะที่ลำห้วยเขย่ง อำเภอทองผาภูมิ และอุทยานแห่งชาติไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี
-
ปูราชินี มี ๓ สี คือ สีแดง สีขาว สีนํ้าเงินม่วงดำ พบเฉพาะที่ลำห้วยเขย่ง อำเภอทองผาภูมิ และอุทยานแห่งชาติไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี
-
ลักษณะเด่นตรงกลางกระดองและเบ้าตาสีน้ำเงินม่วงดำ ด้านข้างกระดองและก้ามสีขาว ขาเดินและรยางค์ปากสีแดง มีขนาดความหว้างกระดองประมาณ 4 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
ลำห้วยเขย่ง อำเภอทองผาภูมิ และอุทยานแห่งชาติไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี
-
Kanchanaburi
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
กาญจนบุรี
-
บ้านน้ำชล, ไทรโยค, กาญจนบุรี, ภาคตะวันตก
-
บ้านน้ำโชน, ไทรโยค, กาญจนบุรี, ภาคตะวันตก
-
กาญจนบุรี
ระบบนิเวศ :
-
Terrestrial|Freshwater. Dig burrows on the forest floor.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บ้านน้ำโจน อำเภอไทรโยค, ตำบลห้วยเขย่ง อำเภอทองผาภูมิ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2008)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2008)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 5 CRUSTACEAN FAUNA IN THAILAND, 2541
ONEP Biodiversity Series Vol. 19 Crustacean Fauna in Thailand, 2550
สัตว์น้ำเกียรติประวัติไทย, กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2566
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
หนังสือพรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ผีเสื้อหนอนบุ้งสีขาว
Euproctis flava
Allotinus felderi
Priopus brevis
เหยี่ยวออสเปร
Pandion haliaetus
Hemirhamphus far
Macrobrachium malayanum
Previous
Next