Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Tephrosia siamensis
Tephrosia siamensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Tephrosia siamensis
J.R.Drumm.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
ขางเลื้อยตัวผู้ ก
ชื่อท้องถิ่น::
-
คางเลื้อยตัวผู้ คางเลื้อย เลียงเหล็ก
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Tephrosia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก อายุปีเดียว สูงถึง 1 เมตร ลำต้นและกิ่งเป็นเหลี่ยม มีขนสีเทาเงินปกคลุม ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ปลายคี่ ใบย่อย 3-4 คู่ รูปขอบขนานแกมไข่กลับ กว้าง 1-2 ซม. ยาว 3-6 ซม. ผิวใบมีขน เส้นใบไม่ชัดเจน ดอก สีส้มอ่อน ออกเป็นช่อ ที่ปลายยอด ยาว 3-10 ซม. ดอกย่อย 2-5 ดอก รูปดอกถั่ว กลีบรองดอก รูประฆัง กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนแผ่กลมมน กลีบข้าง รูปไข่ แกมขอบขนาน กลีบคู่ล่างเชื่อมกันคล้ายรูปท้องเรือ ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน กว้าง 0.7 ซม. ยาว 6-7 ซม. ฝักอ่อนมีขนสั้นๆ เมล็ด รูปรีเบี้ยว
-
ไม้ล้มลุก อายุปีเดียว สูงถึง 1 เมตร ลำต้นและกิ่งเป็นเหลี่ยม มีขนสีเทาเงินปกคลุม ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ปลายคี่ ใบย่อย 3-4 คู่ รูปขอบขนานแกมไข่กลับ กว้าง 1-2 ซม. ยาว 3-6 ซม. ผิวใบมีขน เส้นใบไม่ชัดเจน ดอก สีส้มอ่อน ออกเป็นช่อ ที่ปลายยอด ยาว 3-10 ซม. ดอกย่อย 2-5 ดอก รูปดอกถั่ว กลีบรองดอก รูประฆัง กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนแผ่กลมมน กลีบข้าง รูปไข่ แกมขอบขนาน กลีบคู่ล่างเชื่อมกันคล้ายรูปท้องเรือ ผล เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน กว้าง 0.7 ซม. ยาว 6-7 ซม. ฝักอ่อนมีขนสั้นๆ เมล็ด รูปรีเบี้ยว
การกระจายพันธุ์ :
-
ขึ้นกระจายทั่วเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เก็บตัวอย่างครั้งแรกในประเทศไทย พบทุกภาคยกเว้นภาคใต้ ตามป่าเต็งรัง ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม
-
ขึ้นกระจายทั่วเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เก็บตัวอย่างครั้งแรกในประเทศไทย พบทุกภาคยกเว้นภาคใต้ ตามป่าเต็งรัง ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Osmunda banksiifolia
Pertusaria platystoma
Calanthe papuana
Luisia trichorrhiza
Ectropothecium hyalinum
Smilax calophylla
Previous
Next