Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Tamiops macclellandii
Tamiops macclellandii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Sus scrofa
Linnaeus, 1758
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Burmese Striped Squirrel
-
Himalayan striped squirrel, Burmese Striped Squi
ชื่อไทย::
-
กระเล็นขนปลายหูสั้น
ชื่อท้องถิ่น::
-
กระรอก
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Mammalia
อันดับ:
Artiodactyla
วงศ์::
Suidae
สกุล:
Tamiops
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 15:43 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 15:43 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ป่าดงดิบชื้นภาคใต้ ป่าดงดิบชื้นแบบมลายู ป่าดงดิบเขาและป่าเบญจพรรณ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พะเยา
-
น่าน
-
น่าน
-
อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
-
น่าน
-
นครสวรรค์
-
กระบี่, ชุมพร, พะเยา, สุราษฎร์ธานี, ระนอง, อุตรดิตถ์, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
-
อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
ตามต้นไม้ในป่าธรรมชาติ
-
ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
มีขนาดความยาวหัวและลำตัว 11-12 เซนติเมตร หางยาว 11 เซนติเมตร เป็นกระรอกที่อาศัยอยู่บนต้นไม้ที่มีขนาดเล็กมาก แตกต่างจากกระเล็นขนปลายหูยาวตรงที่มีแถบสีจางกว้างกว่าเท่าๆ กัน หน้าผากและกระหม่อมมีสีเขียว ลำตัวด้านข้างและขาเป็นสีเทา ท้องสีออกส้ม หางเรียว มีจุดประสีเทา น้ำตาล และดำ
การกระจายพันธุ์ :
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้
สถานที่ชม :
-
ภาพถ่าย
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA802599
802599
2
PRJNA313664
313664
3
PRJNA281821
281821
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมป่าไม้
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน (Inland Water Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Psilaster andromeda
หอยขี้กา, หอยหลักควาย, หอยขี้ค้อน
Telescopium telescopium
Hemimyzon formosanum
ตั๊กแตนหนวดสั้น
Tylotropidius varicornis
Celosterna scabrator
Lauridromia indica
Previous
Next