-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้น สูง 15-30 เมตร เปลือกสีเทาหรือสีน้ำตาลเข้ม ใบ แบบใบประกอบแบบขนนก ยาว 5-10 ซม. กว้าง 2-4 ซม. ใบย่อย รูปขอบขนาน จำนวน 10-20 คู่ ออกตรงข้าม ยาว 1.2-2 ซม. กว้าง 3-5 มม. ขอบใบเรียบ ปลายเป็นติ่งแหลม ช่อดอก แบบช่อเชิงลดห้อยลง ก้านช่อดอก ยาว 5-10 มม. กลีบเลี้ยง เป็นแผ่นรูปช้อน 2 แผ่น ยาว1-1.2 ซม. กลีบดอก มี 5 กลีบ กลีบเจริญ 3 กลีบ สีเหลืองอ่อนมีเส้นภายในสีแดง กลีบดอก 2 กลีบ ลดรูป เกสรเพศผู้ มีก้านเกสรเชื่อมติดกัน เกสรที่สมบูรณ์ 3 อัน อีก 2 อัน เป็นเส้นเรียว เกสรเพศเมีย เหนือกลีบเลี้ยง ปลายเกสร เป็นก้อนรูปรี ผล แบบฝัก โค้ง ค่อนข้างแบน ยาว 7-15 ซม. กว้าง 2-3 ซม. เปลือกเมื่อแก่สีน้ำตาลเข้ม เมล็ด สีน้ำตาลเข้มหรือสีดำ
-
ไม้ยืนต้น สูง 15-30 เมตร เปลือกสีเทาหรือสีน้ำตาลเข้ม ใบ แบบใบประกอบแบบขนนก ยาว 5-10 ซม. กว้าง 2-4 ซม. ใบย่อย รูปขอบขนาน จำนวน 10-20 คู่ ออกตรงข้าม ยาว 1.2-2 ซม. กว้าง 3-5 มม. ขอบใบเรียบ ปลายเป็นติ่งแหลม ช่อดอก แบบช่อเชิงลดห้อยลง ก้านช่อดอก ยาว 5-10 มม. กลีบเลี้ยง เป็นแผ่นรูปช้อน 2 แผ่น ยาว1-1.2 ซม. กลีบดอก มี 5 กลีบ กลีบเจริญ 3 กลีบ สีเหลืองอ่อนมีเส้นภายในสีแดง กลีบดอก 2 กลีบ ลดรูป เกสรเพศผู้ มีก้านเกสรเชื่อมติดกัน เกสรที่สมบูรณ์ 3 อัน อีก 2 อัน เป็นเส้นเรียว เกสรเพศเมีย เหนือกลีบเลี้ยง ปลายเกสร เป็นก้อนรูปรี ผล แบบฝัก โค้ง ค่อนข้างแบน ยาว 7-15 ซม. กว้าง 2-3 ซม. เปลือกเมื่อแก่สีน้ำตาลเข้ม เมล็ด สีน้ำตาลเข้มหรือสีดำ
-
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดที่เกาะมาดากัสกาแพร่กระจายแอฟริกาตะวันออกและอินเดีย
-
มีถิ่นกำเนิดที่เกาะมาดากัสกาแพร่กระจายแอฟริกาตะวันออกและอินเดีย
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
พื้นที่เกษตรกรรมริมน้ำนนทบุรีและเกาะเกร็ด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นนทบุรี
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
ชัยภูมิ
-
ชลบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
บึงกาฬ
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
ตาก
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ต้นมะขาม : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่
- ใบ : เป็นใบประกอบ ออกเป็นคู่ เรียงกันตามก้านใบ ปลายใบและโคนใบมน
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อเล็กๆ อยู่ตามบริเวณปลายกิ่ง ขนาดเล็ก มีกลีบสีเหลือง ผลมี 2 ชนิด คือ ชนิดฝักกลมเล็กยาวเรียกว่า “มะขามขี้แมว” ชนิดฝักใหญ่แบนเรียกว่า “มะขามกระดาน”
- เมล็ด : เป็นรูปค่อนข้างกลม ผิวเปลือกเกลี้ยงสีน้ำตาลเข้ม
-
- ต้นมะขาม : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่
- ใบ : เป็นใบประกอบ ออกเป็นคู่ เรียงกันตามก้านใบ ปลายใบและโคนใบมน
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อเล็กๆ อยู่ตามบริเวณปลายกิ่ง ขนาดเล็ก มีกลีบสีเหลือง ผลมี 2 ชนิด คือ ชนิดฝักกลมเล็กยาวเรียกว่า “มะขามขี้แมว” ชนิดฝักใหญ่แบนเรียกว่า “มะขามกระดาน”
- เมล็ด : เป็นรูปค่อนข้างกลม ผิวเปลือกเกลี้ยงสีน้ำตาลเข้ม
-
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
3. การทาบกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
3. การทาบกิ่ง