Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Talauma candollei
Talauma candollei
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Talauma candollei
Blume
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
มณฑา
ชื่อท้องถิ่น::
-
ยี่หุบ จอมปูน จำปูนช้าง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Magnoliales
วงศ์::
Magnoliaceae
สกุล:
Magnolia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดเล็กหรือพุ่ม สูงได้ถึง 10 ซม. ใบเป็นใบเดี่ยว ออกสลับ รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-6 ซม. ยาว 7-15 ซม. ปลายแหลม โคนสอบ แผ่นใบมักเป็นคลื่นหรือเป็นลอน กาบใบยาว 1.5-2 ซม. มีต่อมบวมที่โคน มีขนสีขาวประปราย ดอกสีเหลืองอ่อนถึงครีม กลิ่นหอมแรงในเวลาเช้าตรู่ ดอกรูปรีมีปลายค่อนข้างแหลม ออกเดี่ยวตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกรูประฆังห้อยลง กลีบรองดอก 3 กลีบ สีเขียวอ่อนแกมเหลือง หนาและแข็ง กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็น 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 3-5 ซม. เมื่อบานกลีบชั้นนอกจะคลี่ออกแผ่แบบห่อๆ เกสรผู้และเกสรเมียจำนวนมาก ผลเป็นผลกลุ่มรูปรี ขนาดยาวประมาณ 4 ซม.
-
ไม้ต้นขนาดเล็กหรือพุ่ม สูงได้ถึง 10 ซม. ใบเป็นใบเดี่ยว ออกสลับ รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-6 ซม. ยาว 7-15 ซม. ปลายแหลม โคนสอบ แผ่นใบมักเป็นคลื่นหรือเป็นลอน กาบใบยาว 1.5-2 ซม. มีต่อมบวมที่โคน มีขนสีขาวประปราย ดอกสีเหลืองอ่อนถึงครีม กลิ่นหอมแรงในเวลาเช้าตรู่ ดอกรูปรีมีปลายค่อนข้างแหลม ออกเดี่ยวตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกรูประฆังห้อยลง กลีบรองดอก 3 กลีบ สีเขียวอ่อนแกมเหลือง หนาและแข็ง กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็น 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 3-5 ซม. เมื่อบานกลีบชั้นนอกจะคลี่ออกแผ่แบบห่อๆ เกสรผู้และเกสรเมียจำนวนมาก ผลเป็นผลกลุ่มรูปรี ขนาดยาวประมาณ 4 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยขึ้นได้ดีทางภาคใต้ ที่ความสูง 50-400 เมตร จากระดับน้ำทะเล นำมาปลูกในที่ชื้นและแดดไม่จัดมากจะขึ้นได้ดี ออกดอกตลอดปี
-
พบตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยขึ้นได้ดีทางภาคใต้ ที่ความสูง 50-400 เมตร จากระดับน้ำทะเล นำมาปลูกในที่ชื้นและแดดไม่จัดมากจะขึ้นได้ดี ออกดอกตลอดปี
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Neolindbergia rugosa
Isachne cochinchinensis
Plectranthus parishii
Osmanthus matsumuranus
-
Radermachera eberhardtii
ไทรหิน
Ficus anastomosans
Previous
Next