Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Tainia hookeriana
Tainia hookeriana
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Tainia hookeriana
King & Pantl.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
เอื้องสีลาปากลาย
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Ania
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:34 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:34 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
กล้วยไม้ดิน ลำลูกกล้วยรูปไข่ กว้าง 3-4 ซม. สูง 5 ซม. มี 1 ใบที่ ปลายลำ ใบ รูปหอกแกมรี กว้าง 6-8 ซม. ยาว 30-40 ซม. มีรอยพับจีบ ตามยาว ก้านใบผอมยาว ดอก ออกเป็นช่อตั้งตรงยาวได้ถึง 50 ซม. ดอกแน่นบริเวณปลายช่อ ดอกบานเต็มที่กว้าง 2.5 ซม. กลีบเลี้ยง และกลีบดอก สีเหลืองอ่อนแกมน้ำตาล มีเส้นสีน้ำตาลแดงพาดถี่ ตามยาว กลีบปากสีขาว มีประสีน้ำตาลแดง กลางกลีบเป็นแถบสีเข้ม ปลายกลีบเว้าลึกเป็น 3 แฉก
-
กล้วยไม้ดิน ลำลูกกล้วยรูปไข่ กว้าง 3-4 ซม. สูง 5 ซม. มี 1 ใบที่ ปลายลำ ใบ รูปหอกแกมรี กว้าง 6-8 ซม. ยาว 30-40 ซม. มีรอยพับจีบ ตามยาว ก้านใบผอมยาว ดอก ออกเป็นช่อตั้งตรงยาวได้ถึง 50 ซม. ดอกแน่นบริเวณปลายช่อ ดอกบานเต็มที่กว้าง 2.5 ซม. กลีบเลี้ยง และกลีบดอก สีเหลืองอ่อนแกมน้ำตาล มีเส้นสีน้ำตาลแดงพาดถี่ ตามยาว กลีบปากสีขาว มีประสีน้ำตาลแดง กลางกลีบเป็นแถบสีเข้ม ปลายกลีบเว้าลึกเป็น 3 แฉก
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามป่าดิบและป่าทุ่งหญ้าที่ชื้น ทางภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม
-
พบตามป่าดิบและป่าทุ่งหญ้าที่ชื้น ทางภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่, ดอยสุเทพ, พิษณุโลก, ทุ่งแสลงหลวง, เลย, ภูหลวง, นครราชสีมา, เขาใหญ่
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 8 ORCHIDS OF THAILAND, 2542
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
จะไค้ต้น
Ormosia robusta
Pseuduvaria fragrans
Lipocarpha microcephala
Cyathostemma argentatum
Sonerila siamensis
Neckeropsis exserta
Previous
Next