Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Tadehagi godefroyanum
Tadehagi godefroyanum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Tadehagi godefroyanum
(Kuntze) H.Ohashi
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
ไชหิน
ชื่อท้องถิ่น::
-
ต่างหมอง เรียะ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Droogmansia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มแตกกิ่งก้านมาก สูง 1.5-3 เมตร ใบ เป็นใบประกอบ มีใบย่อยใบเดียว เรียงเวียน รูปไข่หรือแกมขอบขนาน กว้าง 4-8 ซม. ยาว 10-14 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน ผิวใบด้านบนเหลือบมัน ด้านล่างมีขนสีเทาเงินปกคลุมหนาแน่น เส้นใบเด่นชัดเจน ก้านใบแผ่ เป็นปีกแคบตามยาว ดอก สีม่วงแดง ออกเป็นช่อแกนจากปลายกิ่ง ยาว 10-20 ซม. ดอกย่อยรูปดอกถั่ว มีจำนวนมาก กลีบรองดอก รูประฆัง ปลายแยกเป็นแฉก มีขน กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนแผ่เกือบกลม กลีบข้างรูปไข่กลับ กลีบคู่ล่างเชื่อมกันคล้ายรูปท้องเรือ เกสรผู้ 10 อัน รังไข่มีขนสั้น ผล เป็นฝักแบน คอดเป็นข้อชัดเจน ฝักแก่หักบริเวณข้อ
-
ไม้พุ่มแตกกิ่งก้านมาก สูง 1.5-3 เมตร ใบ เป็นใบประกอบ มีใบย่อยใบเดียว เรียงเวียน รูปไข่หรือแกมขอบขนาน กว้าง 4-8 ซม. ยาว 10-14 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน ผิวใบด้านบนเหลือบมัน ด้านล่างมีขนสีเทาเงินปกคลุมหนาแน่น เส้นใบเด่นชัดเจน ก้านใบแผ่ เป็นปีกแคบตามยาว ดอก สีม่วงแดง ออกเป็นช่อแกนจากปลายกิ่ง ยาว 10-20 ซม. ดอกย่อยรูปดอกถั่ว มีจำนวนมาก กลีบรองดอก รูประฆัง ปลายแยกเป็นแฉก มีขน กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบนแผ่เกือบกลม กลีบข้างรูปไข่กลับ กลีบคู่ล่างเชื่อมกันคล้ายรูปท้องเรือ เกสรผู้ 10 อัน รังไข่มีขนสั้น ผล เป็นฝักแบน คอดเป็นข้อชัดเจน ฝักแก่หักบริเวณข้อ
การกระจายพันธุ์ :
-
ภูมิภาคอินโดจีน ประเทศไทย พบในป่าเต็งรังทางภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตก ออกดอกและติดฝักตลอดปี
-
ภูมิภาคอินโดจีน ประเทศไทย พบในป่าเต็งรังทางภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตก ออกดอกและติดฝักตลอดปี
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Peristylus kerrii
Hernandia nymphaefolia
Boesenbergia maxwellii
Smilax microphylla
Smilax prolifera
Hedyotis kamputensis
Previous
Next