Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Tacca plantaginea
Tacca plantaginea
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Tacca plantaginea
(Hance) Drenth
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Schizocapsa guangxiensis P.P.Ling & C.T.Ting
- Schizocapsa plantaginea Hance
ชื่อไทย:
-
หนวดเสือ
ชื่อท้องถิ่น::
-
หนวดเสือ
-
ดีทิง (ภาคเหนือ) ผักคี๊ปา(แพร่)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Dioscoreales
วงศ์::
Dioscoreaceae
สกุล:
Tacca
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:37 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:37 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Herb.
-
พืชล้มลุก มีเหง้า ทรงกระบอก ใบเดี่ยว ออกจากโคน3-8 ใบ รูปใบหอก กว้าง 3-8 ยาว 10-35 ซม. โคนใบรูปลิ่ม มีลักษณะเป็นปีกยาวต่อเนื่องถึงก้านใบ ปลายใบแบบเรียวแหลม เส้นใบ 3-5 คู่ ก้านใบ มีแผ่นใบยาว 8-30 ซม. ดอก ออกเป็นช่อ 1-6 ช่อ แต่ละช่อยาวถึง 25 ซม. มีดอกย่อย 6-20 ดอก วงใบประดับ มี 2 คู่ ออกตรงข้ามสลับตั้งฉาก ไม่มีก้าน คู่ด้านนอกรูปไข่ กว้าง 0.5-2 ยาว 1-3 ซม. คู่ด้านในรูปไข่ กว้าง 0.3-1 ยาว 0.5-2.5 ซม. ริ้วประดับรูปเส้นด้าย 6-20 อัน ยาวถึง 8 ซม. ก้านดอกย่อย ยาว 1.5-3 ซม. ดอก กว้าง 0.5-1ยาว 1-2 ซม. สีเขียวอ่อน สีน้ำตาล หรือสีม่วง กลีบรวมปลายแยก 6 แฉก 3 แฉกด้านนอกรูปไข่ หรือรูปสามเหลี่ยม กว้าง 2-5 ยาว 5-11 มม. 3 กลีบด้านในรูปไข่กว้าง กว้าง 4-5 ยาว 4-5 มม.เกสรเพศผู้สีเขียวอ่อน รังไข่ กว้าง 4-7 ยาว 3-6 มม. ผลแบบแก่แล้วแตก รูปสามเหลี่ยม รูปแตร หรือรูปกรวย กว้างประมาณ 0.7 ยาว 1 ซม. มีกลีบดอกรวมที่ยังไม่ร่วงติด เมล็ดรูป ไข่ หรือขอบขนาน กว้าง 0.6-1 ยาว 2-2.5 มม. หนาประมาณ 5 มม.
-
พืชล้มลุก มีเหง้า ทรงกระบอก ใบเดี่ยว ออกจากโคน3-8 ใบ รูปใบหอก กว้าง 3-8 ยาว 10-35 ซม. โคนใบรูปลิ่ม มีลักษณะเป็นปีกยาวต่อเนื่องถึงก้านใบ ปลายใบแบบเรียวแหลม เส้นใบ 3-5 คู่ ก้านใบ มีแผ่นใบยาว 8-30 ซม. ดอก ออกเป็นช่อ 1-6 ช่อ แต่ละช่อยาวถึง 25 ซม. มีดอกย่อย 6-20 ดอก วงใบประดับ มี 2 คู่ ออกตรงข้ามสลับตั้งฉาก ไม่มีก้าน คู่ด้านนอกรูปไข่ กว้าง 0.5-2 ยาว 1-3 ซม. คู่ด้านในรูปไข่ กว้าง 0.3-1 ยาว 0.5-2.5 ซม. ริ้วประดับรูปเส้นด้าย 6-20 อัน ยาวถึง 8 ซม. ก้านดอกย่อย ยาว 1.5-3 ซม. ดอก กว้าง 0.5-1ยาว 1-2 ซม. สีเขียวอ่อน สีน้ำตาล หรือสีม่วง กลีบรวมปลายแยก 6 แฉก 3 แฉกด้านนอกรูปไข่ หรือรูปสามเหลี่ยม กว้าง 2-5 ยาว 5-11 มม. 3 กลีบด้านในรูปไข่กว้าง กว้าง 4-5 ยาว 4-5 มม.เกสรเพศผู้สีเขียวอ่อน รังไข่ กว้าง 4-7 ยาว 3-6 มม. ผลแบบแก่แล้วแตก รูปสามเหลี่ยม รูปแตร หรือรูปกรวย กว้างประมาณ 0.7 ยาว 1 ซม. มีกลีบดอกรวมที่ยังไม่ร่วงติด เมล็ดรูป ไข่ หรือขอบขนาน กว้าง 0.6-1 ยาว 2-2.5 มม. หนาประมาณ 5 มม.
ระบบนิเวศ :
-
Dry evergreen forest, wet areas, 100-600 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
S China, Laos, Vietnam.
-
มักพบริมห้วยในป่าเบญจพรรณ หรือป่าดิบแล้ง ที่ระดับ 100-600 ม.ออกดอกและติดผลเดือน พฤษภาคม-กันยายน มีการกระจายใน ตอนใต้ของจีน ลาว เวียดนาม
-
S China, Indochina; N NE C & SW Thailand: Tak, Phitsanulok, Kanchanaburi
-
มักพบริมห้วยในป่าเบญจพรรณ หรือป่าดิบแล้ง ที่ระดับ 100-600 ม.ออกดอกและติดผลเดือน พฤษภาคม-กันยายน มีการกระจายใน ตอนใต้ของจีน ลาว เวียดนาม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Phitsanulok,Chiangmai,Tak,Phetchabun,Saraburi,Kanchanaburi
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ล้มลุก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Mixed deciduous and dry evergreen forests, 100 − 600 m.
ระบบนิเวศ
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Parietaria officinalis
Saprosma consimilis
Cheilanthes pseudoargentea
ผักเขียด
Monochoria vaginalis
Melicope viticina
Begonia grata
Previous
Next