Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Tabebuia argentea
Tabebuia argentea
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Tabebuia argentea
(Bur. & Schum.) Britton
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
เหลืองปรีดียาธร
ชื่อท้องถิ่น::
-
Silver trumpet tree, Tree of gold, Paraguayan silv
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Bignoniaceae
สกุล:
Tabebuia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-8 เมตร ผลัดใบ ใบประกอบรูปนิ้วมือ เรียงตรงข้าม ใบย่อย 4-7 ใบ รูปรีแกมรูปขอบขนาน แผ่นใบหนา คล้ายหนัง สีเขียวเหลือบเงิน โคนและปลายใบมน ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเหลือง เชื่อมติดกันเป็นหลอด กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลือง เชื่อมติดกันเป็นหลอด รูปแตร ผลเป็นผลแห้งแตก สีเทา เมล็ดแบน มีปีก จำนวนมาก
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-8 เมตร ผลัดใบ ใบประกอบรูปนิ้วมือ เรียงตรงข้าม ใบย่อย 4-7 ใบ รูปรีแกมรูปขอบขนาน แผ่นใบหนา คล้ายหนัง สีเขียวเหลือบเงิน โคนและปลายใบมน ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเหลือง เชื่อมติดกันเป็นหลอด กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลือง เชื่อมติดกันเป็นหลอด รูปแตร ผลเป็นผลแห้งแตก สีเทา เมล็ดแบน มีปีก จำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
-
ถิ่นกำเนิด อเมริกาเขตร้อน (ปารากวัย อาร์เจนตินา บราซิล) ออกดอก มกราคม – มีนาคม การปลูกเลี้ยง ดินร่วน แสงแดดจัด น้ำปานกลาง ขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด
-
ถิ่นกำเนิด อเมริกาเขตร้อน (ปารากวัย อาร์เจนตินา บราซิล) ออกดอก มกราคม – มีนาคม การปลูกเลี้ยง ดินร่วน แสงแดดจัด น้ำปานกลาง ขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สมุทรปราการ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
ที่มาของข้อมูล
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Caulokaempferia phuluangensis
ขว้าว
Haldina cordiflora
Meteoriopsis ancistrodes
Centroceras clavulatum
Typhonium tentaculatum
กระดอม
Gymnopetalum chinense
Previous
Next