Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Syzygium megacarpum
Syzygium megacarpum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Syzygium megacarpum
(Craib) N.C.Rathakrishnan & N.C.Nair
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
ชมพู่ป่า
-
มะชมพู่ป่า
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Myrtales
วงศ์::
Myrtaceae
สกุล:
Syzygium
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นสูงถึง 20 เมตร ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปรี หรือรูปหอกแกมขอบขนาน กว้าง 6.5-8.3 ซม. ยาว 20-32 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเว้ารูปหัวใจหรือมนกลม เส้นใบเชื่อมกับ บริเวณขอบใบ ดอก สีขาว ออกเป็นกระจุกช่อที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ ยาวถึง 5 ซม. ดอกย่อยบานกว้างถึง 5 ซม. ฐานรองดอกเจริญ เป็นรูปถ้วยสูง 15-23 มม. ผิวนอกเป็นสัน กลีบรองดอก 4 กลีบ ปลายกลีบมนกลม กลีบดอก 4 กลีบ รูปกลม เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 2.4-3.3 ซม. ก้านเกสรเมียยาวกว่าเกสรผู้ ผล รูปทรงกลม ผิวมัน ขนาด 4.2-6 ซม. ผิวนอก เป็นสัน เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก
-
ไม้ต้นสูงถึง 20 เมตร ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปรี หรือรูปหอกแกมขอบขนาน กว้าง 6.5-8.3 ซม. ยาว 20-32 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเว้ารูปหัวใจหรือมนกลม เส้นใบเชื่อมกับ บริเวณขอบใบ ดอก สีขาว ออกเป็นกระจุกช่อที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ ยาวถึง 5 ซม. ดอกย่อยบานกว้างถึง 5 ซม. ฐานรองดอกเจริญ เป็นรูปถ้วยสูง 15-23 มม. ผิวนอกเป็นสัน กลีบรองดอก 4 กลีบ ปลายกลีบมนกลม กลีบดอก 4 กลีบ รูปกลม เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 2.4-3.3 ซม. ก้านเกสรเมียยาวกว่าเกสรผู้ ผล รูปทรงกลม ผิวมัน ขนาด 4.2-6 ซม. ผิวนอก เป็นสัน เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย บังคลาเทศ จีน และเมียนม่าห์ ประเทศไทยพบทุกภาคตามริมลำธาร บริเวณ ป่าผลัดใบหรือป่าดงดิบ ที่ระดับความสูง 50-1,450 เมตร ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
อินเดีย บังคลาเทศ จีน และเมียนม่าห์ ประเทศไทยพบทุกภาคตามริมลำธาร บริเวณ ป่าผลัดใบหรือป่าดงดิบ ที่ระดับความสูง 50-1,450 เมตร ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เลย
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
แม่ฮ่องสอน
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
เพชรบูรณ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Syzygium glaucum
นางจอย
Aster ageratoides
Albizia lucida
แก้วมือไว
Pterolobium micranthum
หญ้าสรุ่ยดอกเหลือง
Mitrasacme pygmaea
Peucedanum dhana
Previous
Next