Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Ascocentium ampullaceum
Ascocentium ampullaceum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Arundina graminifolia
(D.Don) Hochr.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
เอื้องเข็มม่วง
ชื่อท้องถิ่น::
-
เขาแกะ เอื้องเขาแกะใหญ่ เอื้องขี้ครั่ง เอื้องครั่ง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Ascocentium
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:26 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:26 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 10-15 ซม. ลำต้นเรียว ใบ แบน รูปขอบขนาน ค่อนข้างหนา กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 12-15 ซม. ปลายใบหยักไม่เท่ากัน ดอก ออกเป็นช่อตั้งตามซอกใบ ยาว 10-15 ซม. จำนวน 20-30 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอก สีม่วงแดง กลีบปากสีชมพูเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 2 ซม. พบตามป่าผลัดใบ ทางภาคเหนือและภาคตะวันตก ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 10-15 ซม. ลำต้นเรียว ใบ แบน รูปขอบขนาน ค่อนข้างหนา กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 12-15 ซม. ปลายใบหยักไม่เท่ากัน ดอก ออกเป็นช่อตั้งตามซอกใบ ยาว 10-15 ซม. จำนวน 20-30 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอก สีม่วงแดง กลีบปากสีชมพูเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 2 ซม. พบตามป่าผลัดใบ ทางภาคเหนือและภาคตะวันตก ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 10-15 ซม. ลำต้นเรียว ใบ แบน รูปขอบขนาน ค่อนข้างหนา กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 12-15 ซม. ปลายใบหยักไม่เท่ากัน ดอก ออกเป็นช่อตั้งตามซอกใบ ยาว 10-15 ซม. จำนวน 20-30 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอก สีม่วงแดง กลีบปากสีชมพูเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 2 ซม. พบตามป่าผลัดใบ ทางภาคเหนือและภาคตะวันตก ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 10-15 ซม. ลำต้นเรียว ใบ แบน รูปขอบขนาน ค่อนข้างหนา กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 12-15 ซม. ปลายใบหยักไม่เท่ากัน ดอก ออกเป็นช่อตั้งตามซอกใบ ยาว 10-15 ซม. จำนวน 20-30 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอก สีม่วงแดง กลีบปากสีชมพูเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 2 ซม. พบตามป่าผลัดใบ ทางภาคเหนือและภาคตะวันตก ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ หมู่เกาะในทะเลอันดามัน
-
อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ หมู่เกาะในทะเลอันดามัน
-
อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ หมู่เกาะในทะเลอันดามัน
-
อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ หมู่เกาะในทะเลอันดามัน
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dendrocalamus barbatus
Silvianthus tonkinensis
Amphineuron immersum
Parsonsia philippinensis
Argyreia calcicola
Bulbophyllum propinquum
Previous
Next