Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Swertia calcicola
Swertia calcicola
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Swertia calcicola
Kerr
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Swertia pinetorum Kerr
ชื่อไทย::
-
สิงขรา
-
ตากะปอ
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Gentianaceae
สกุล:
Swertia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก สูง 10-30 ซม. กิ่งก้านเป็นสี่เหลี่ยม ใบ เดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่ถึงรูปรี ยาว 2.5 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน หรือเป็นรูปลิ่มกว้าง ดอก ออกเป็นช่อแบบช่อเชิงหลั่น มีดอกย่อย จำนวนมาก กลีบรองดอกเชื่อมกันบริเวณโคน ปลายแยกเป็น 4-5 แฉก กลีบดอกสีขาว มีลายสีม่วงเป็นเส้นตามยาว 4-5 กลีบ รูปไข่ ยาว 0.7-1.3 ซม. ปลายแหลม มีต่อมที่โคนกลีบดอก กลีบละ 2 ต่อม รอบต่อมมีขนครุยยาว 0.7 มม. เกสรผู้ 4-5 อัน อับเรณูรูปไข่ รังไข่ ทรงรี ผล แก่แล้วแตก เป็น 2 พู มีเมล็ดขนาดเล็ก จำนวนมาก
-
ไม้ล้มลุก สูง 10-30 ซม. กิ่งก้านเป็นสี่เหลี่ยม ใบ เดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่ถึงรูปรี ยาว 2.5 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน หรือเป็นรูปลิ่มกว้าง ดอก ออกเป็นช่อแบบช่อเชิงหลั่น มีดอกย่อย จำนวนมาก กลีบรองดอกเชื่อมกันบริเวณโคน ปลายแยกเป็น 4-5 แฉก กลีบดอกสีขาว มีลายสีม่วงเป็นเส้นตามยาว 4-5 กลีบ รูปไข่ ยาว 0.7-1.3 ซม. ปลายแหลม มีต่อมที่โคนกลีบดอก กลีบละ 2 ต่อม รอบต่อมมีขนครุยยาว 0.7 มม. เกสรผู้ 4-5 อัน อับเรณูรูปไข่ รังไข่ ทรงรี ผล แก่แล้วแตก เป็น 2 พู มีเมล็ดขนาดเล็ก จำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพืชถิ่นเดียวพบทาง ภาคเหนือของไทย ที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ตามสันเขา ในพื้นที่เปิด ที่ระดับความสูงเกินกว่า 2,000 เมตร ออกดอกช่วงเดือน มิถุนายน-กันยายน
-
N Thailand: Chiang Mai (Doi Chiangdao, Doi Inthanon)
-
เป็นพืชถิ่นเดียวพบทาง ภาคเหนือของไทย ที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ตามสันเขา ในพื้นที่เปิด ที่ระดับความสูงเกินกว่า 2,000 เมตร ออกดอกช่วงเดือน มิถุนายน-กันยายน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ล้มลุก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
On limestone, upper montane scrub, 2000 m.
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2549)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
กัญชาเทศ
Leonurus sibiricus
ส้านใบเล็ก
Dillenia ovata
Symphyodon scabrisetus
Viscum stenocarpum
Sematophyllum tristiculum
Cycas clivicola
Previous
Next