Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Sturnus malabaricus
Sturnus malabaricus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Sturnus malabaricus
(Gmelin, 1789)
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Chestnut-tailed Starling
ชื่อไทย:
-
นกกิ้งโครงแกลบหัวเทา
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Sturnidae
สกุล:
Sturnia
ปีที่ตีพิมพ์:
1998
วันที่อัพเดท :
2 มิ.ย. 2564 08:51 น.
วันที่สร้าง:
2 มิ.ย. 2564 08:51 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็ก (20 ซม.) ตัวเต็มวัยลักษณะคล้ายกับนกกิ้งโครงแกลบปีกขาวบริเวณโคนปีก และขนคลุมขนปีกด้านบนสีเทา ขนปีกด้านล่าง และขนคลุมขนปลายปีกสีขาว ตะโพก และขนคลุมโคนขนทางด้านบนสีเทา ปลายขนหางคู่นอกแผ่กว้างเป็นสีน้ำตาลเหลือง หรือน้ำตาลแดง สีข้างสีเหลืองแกมสีน้ำตาลแดง ตาสีขาวถึงน้ำเงินจาง โคนปากสีน้ำเงินแกมเทา ปลายสีเหลืองสด นิ้วสีเหลืองแกมชมพู จนถึงสีน้ำตาล
ระบบนิเวศ :
-
พบตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และทุ่งโล่งที่มีต้นไม้ขึ้นห่างๆ พบเป็นคู่ หรือเป็นฝูง อาศัยและหากินตามกึ่งก้านของต้นไม้ แต่ก็อาจจะลงมายังกิ่งก้านของไม้พุ่ม และบนดิน ในบางโอกาส กินน้ำหวานดอกไม้ แมลง และตัวหนอนต่างๆ เป็นอาหาร
-
ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
เชียงใหม่
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
พระนครศรีอยุธยา
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ทำรังตามโพรงของต้นไม้ซึ่งมักเป็นโพรงเก่าของนกและสัตว์อื่น นำกิ่งไม้เล็กๆ ใบไม้ ใบหญ้า มารองภายในโพรงในแต่ละรังมีไข่ 3-5 ฟอง ไข่สีเขียวแกมน้ำเงินไม่มีลายใดๆ ขนาดของไข่โดยเฉลี่ย 19.0 x 23.6 มม. ระยะเวลาฟักไข่ 14-15 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
โรงไฟฟ้าวังน้อย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
NSM
Mae hong son
NSM
Loei
NSM
Loei
NSM
Loei
NSM
Loei
NSM
Loei
NSM
Nan
NSM
Nan
NSM
Nan
NSM
Nan
NSM
Nan
NSM
Nan
NSM
Nan
NSM
Nan
NSM
Chiang mai
NSM
Chiang mai
NSM
Chiang mai
NSM
Suphan buri
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Pseudoboletia maculata
Capnogryllacris sakaerat
Clorida albolitura
ผีเสื้ออีโคโฟริด
Martyringa xeraula
ผีเสื้อเจาะเมล็ดมะค่าแต้
Cladobrostis melitricha
Metaphire peguana
Previous
Next