Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Sterna albifrons
Sterna albifrons
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Sterna albifrons
Pallas, 1764
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Little Tern
ชื่อไทย::
-
นกนางนวลแกลบเล็ก
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Charadriiformes
วงศ์::
Laridae
สกุล:
Sternula
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
29 ม.ค. 2564 11:49 น.
วันที่สร้าง:
29 ม.ค. 2564 11:49 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
coastal, beaches, saltpans.
-
พบตามชายทะเล และแหล่งน้ำจืด หากินโดยการบินเหนือน้ำ ปากและตาจ้องหาเหยื่อในน้ำ เมื่อพบเหยื่อจะบินโฉบจับโดยใช้ปากลากเรี่ยไปกับผิวน้ำ บางครั้งใข้วิธีพุ่งตัวลงไปในน้ำใช้ปากงับเหยื่อ อาหารได้แก่ สัตว์น้ำขนาดเล็กต่างๆ
-
ระบบนิเวศเกาะ
การกระจายพันธุ์ :
-
Sundaic, eastern
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Common winter visitor in W(coastal), SE, and S and very
local breeder in W(s).
-
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็ก (22-23 ซม.) สีสันโดยทั่วไปเป็นสีขาว ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ปากสีเหลืองตอนปลายสีดำ ขนปลายปีกเส้นนอกๆ สีดำ หน้าผากสีขาว มีแถบคาดตาสีดำ กระหม่อมและท้ายทอยสีขาว หางเว้าลึก ขาและนิ้วสีเหลือง ช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์กระหม่อมส่วนใหญ่เป็นสีขาว ท้ายทอยและแถบคาดตาสีดำไม่ค่อยเข้มปากสีดำขาและนิ้วสีแดงแกมเทา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
พังงา
-
สมุทรปราการ
-
ฉะเชิงเทรา
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเตือนพฤษภาคม-กันยายน ทำรังตามพื้นดิน พื้นทรายหรือแอ่งหิน ไม่มีวัสดุรองรัง ไข่มีสีเหลืองชีดหรือสีเนื้อมีลายจุดหรือลายขีดสีเทาในแต่ละรังมีไข่ 2-3 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 13-14 วัน
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
ONEP Biodiversity Series Vol. 15 : Thailand Red Data : Birds
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Diagramma pictum
Conus circumactus
จิ้งเหลนด้วงปักธงชัย
Brachymeles miriamae
Asaphis dichotoma
หอยจานบินเขมร
Plectotropis repanda
Nerita insculpta
Previous
Next