Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Sterculia laevis
Sterculia laevis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Sterculia laevis
Wall.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
ลิ้นงั่ว
-
กะลูแปลิบา
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malvales
วงศ์::
Malvaceae
สกุล:
Sterculia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ สูงประมาณ 1-2 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปขอบขนานหรือรี ผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ก้านใบยาว 2-5 ซม. มีต่อมบวมที่โคนก้านใบ ดอกสีเขียวครีม ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ห้อยย้อยลง แต่ละช่อมีดอกไม่มากนัก ดอกมีขนาดเล็ก กลีบรองดอกมี 5 กลีบ ผลรูปขอบขนาน ขนาด 4-5 ซม. ลักษณะเป็น 3 พู เปลือกหนาคล้ายแผ่นหนัง เมื่อแก่จัดมีสีแดง ด้านนอกมีขนนุ่ม และจะอ้าแตกตามรอยแยก เมล็ดสีดำเข้มกลมรี ขนาด 0.4-0.6 ซม.
-
ไม้พุ่มขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ สูงประมาณ 1-2 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปขอบขนานหรือรี ผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ก้านใบยาว 2-5 ซม. มีต่อมบวมที่โคนก้านใบ ดอกสีเขียวครีม ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ห้อยย้อยลง แต่ละช่อมีดอกไม่มากนัก ดอกมีขนาดเล็ก กลีบรองดอกมี 5 กลีบ ผลรูปขอบขนาน ขนาด 4-5 ซม. ลักษณะเป็น 3 พู เปลือกหนาคล้ายแผ่นหนัง เมื่อแก่จัดมีสีแดง ด้านนอกมีขนนุ่ม และจะอ้าแตกตามรอยแยก เมล็ดสีดำเข้มกลมรี ขนาด 0.4-0.6 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นไม้เฉพาะถิ่นในภาคเหนือของประเทศไทย ขึ้นตามริมน้ำ ที่ความสูง 600 เมตร จากระดับน้ำทะเล พบตามสภาพธรรมชาติ
-
เป็นไม้เฉพาะถิ่นในภาคเหนือของประเทศไทย ขึ้นตามริมน้ำ ที่ความสูง 600 เมตร จากระดับน้ำทะเล พบตามสภาพธรรมชาติ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (พรุโต๊ะแดง)
ที่มาของข้อมูล
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Barbatia
foliate
จิงจ้อดอย
Merremia kingii
Rhaphidophora decursiva
สาคู
Metroxylon sagus
Dendrobium aegle
Bulbophyllum phayamense
Previous
Next