Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Stephania venosa
Stephania venosa
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Stephania venosa
Spreng.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Clypea venosa Blume
- Stephania prapatensis Yamam.
ชื่อไทย:
-
กระท่อมเลือด
-
กลิ้งกลางดง
-
สบู่เลือด
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Ranunculales
วงศ์::
Menispermaceae
สกุล:
Stephania
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:41 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:41 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เลื้อย มีหัวขนาดใหญ่ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้างถึงรูปค่อนข้างกลม กว้าง 6-12 ซม. ยาว 6-15 ซม. ก้านใบติดบนแผ่นใบใกล้ฐาน เนื้อใบบาง ผิวใบเกลี้ยง ช่อดอกเพศผู้ออกที่ซอกใบ เป็นช่อกระจุกคล้ายช่อซี่ร่ม ช่อเพศเมียเป็นกระจุกแน่น กลีบดอกสีส้ม ผลเมล็ดเดียวแข็ง รูปไข่กลับ ยาวประมาณ 6 มม. ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค.
-
ไม้เลื้อย มีหัวขนาดใหญ่ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้างถึงรูปค่อนข้างกลม กว้าง 6-12 ซม. ยาว 6-15 ซม. ก้านใบติดบนแผ่นใบใกล้ฐาน เนื้อใบบาง ผิวใบเกลี้ยง ช่อดอกเพศผู้ออกที่ซอกใบ เป็นช่อกระจุกคล้ายช่อซี่ร่ม ช่อเพศเมียเป็นกระจุกแน่น กลีบดอกสีส้ม ผลเมล็ดเดียวแข็ง รูปไข่กลับ ยาวประมาณ 6 มม. ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ชุมพร
-
ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
-
ใช้เป็นยาอายุวัฒนะ ด้วยการใช้หัวนำมาตากแห้งบดเป็นผง ใช้ผสมกับน้ำผึ้ง เป็นยาลูกกลอนนำมารับประทานช่วยทำให้เกิดกำลัง ช่วยบำรุงกำหนัด ช่วยบำรุงธาตุไฟ หัวนำมารับประทาน ช่วยทำให้เจริญอาหารและแข็งแรง เครือนำมาต้มใส่ไก่ร่วมกับว่านมหากาฬ ใช้รับประทานเป็นยาบำรุงเลือด ช่วยบำรุงเส้นประสาท รากหรือหัวนำมาตำใช้พอกศรีษะ ช่วยแก้อาการปวดศรรีษะได้ รากหรือหัวสบู่เลือดช่วยแก้หืด ช่วยแก้เสมหะเบื้องบน หัวสบู่เลือด ต้นสบู่เลือดช่วยกระจายลม ขับลมที่แน่นในอกได้
-
4.1 Medicine for human (ยารักษาโรคมนุษย์)
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Carex breviscapa
ทำมัง
Litsea petiolata
Leptodermis trifida
Ajuga reptans
Xyris complanata
อเมซอนใบกลม
Echinodorus cordifolius
Previous
Next