Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Stephania glandulifera
Stephania glandulifera
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Stephania glandulifera
Miers
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
เถาก้นปิด
ชื่อท้องถิ่น::
-
บัวเครือ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Ranunculales
วงศ์::
Menispermaceae
สกุล:
Stephania
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาเลื้อย มีหัวใต้ดิน ลำต้นแก่มักมีรอยแตกเป็นขีดตามยาว ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ขนาดกว้าง 8-15 ซม. ยาว 8-17 ซม. ขอบใบเรียบ เป็นคลื่นเล็กน้อย ก้านใบยาว 5-17 ซม. ดอกสีเหลืองส้ม ออกเป็นคลื่นเล็กน้อย ก้านใบยาว 5-17 ซม. ดอกสีเหลืองส้ม ออกเป็นช่อตามซอกใบหรือลำต้น ช่อดอกทรงก้านร่ม ยาว 5-12 ซม. ดอกย่อยขนาดเล็ก แยกเพศ ดอกเพศผู้มีกลีบรองดอก 6 กลีบ กลีบดอก 3 กลีบ ดอกเพศเมียมีกลีบรองดอกและกลีบดอกอย่างละ 2 กลีบ ผลรูปไข่กลับ ยาว 6 มม.
-
ไม้เถาเลื้อย มีหัวใต้ดิน ลำต้นแก่มักมีรอยแตกเป็นขีดตามยาว ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ขนาดกว้าง 8-15 ซม. ยาว 8-17 ซม. ขอบใบเรียบ เป็นคลื่นเล็กน้อย ก้านใบยาว 5-17 ซม. ดอกสีเหลืองส้ม ออกเป็นคลื่นเล็กน้อย ก้านใบยาว 5-17 ซม. ดอกสีเหลืองส้ม ออกเป็นช่อตามซอกใบหรือลำต้น ช่อดอกทรงก้านร่ม ยาว 5-12 ซม. ดอกย่อยขนาดเล็ก แยกเพศ ดอกเพศผู้มีกลีบรองดอก 6 กลีบ กลีบดอก 3 กลีบ ดอกเพศเมียมีกลีบรองดอกและกลีบดอกอย่างละ 2 กลีบ ผลรูปไข่กลับ ยาว 6 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดีย พม่าจนถึงตอนเหนือของประเทศไทย ตามป่าดิบเขา และบริเวณชายป่าที่ชื้น ที่ระดับความสูง 600-1,300 ม.
-
จากอินเดีย พม่าจนถึงตอนเหนือของประเทศไทย ตามป่าดิบเขา และบริเวณชายป่าที่ชื้น ที่ระดับความสูง 600-1,300 ม.
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Capparis tenera
สะเดาช้าง
Acrocarpus fraxinifolius
เข็มไหม้
Chassalia chartacea
Paraboea uniflora
Coryphopteris viscosa
Leea asiatica
Previous
Next