Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Squatina tergocellatoides
Squatina tergocellatoides
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Squatina tergocellatoides
Chen, 1963
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Ocellated Angel shark
-
Angleshark
-
Ocellated angelshark
ชื่อไทย:
-
ฉลามนางฟ้า
-
ปลาฉลามนางฟ้า
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Squatiniformes
วงศ์::
Squatinidae
สกุล:
Squatina
ที่มา :
หัสพงศ์ สมชนะกิจ และทัศพล กระจ่างดารา
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
19 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
19 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อ่าวไทย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 130 ซม. (พบที่ท่าเทียบเรือประมงจังหวัดสมุทรสาคร) ขนาดทั่วไปที่พบ 60-110 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 85 ชม. เพศเมีย 100 ชม. และขนาดแรกเกิด 30 ชม.
- ส่วนหัวและลำตัวแบนลงคล้ายพวกปลากระเบน หนวดที่จมูกเป็นแผ่นหนังม้วนปลายแตกแขนง จุดเริ่มต้นครีบหลังอันแรกอยู่ตรงปลายครีบท้อง มีสันนูนเป็นแนวเส้นตรงหน้าครีบหลังอันแรก ผิวลำตัวด้าน
บนมีเกล็ดเป็นตุ่มนูนและหยาบ ลำตัวด้านบนสีน้ำตาล มีจุดสีน้ำตาลเข้มเป็นวงกลมขนาดใหญ่กว่าตา 2 คู่ที่บริเวณฐานและปลายครีบอก ที่ฐานครีบหลังทั้งสองอันมีจุดสีน้ำตาลเข้มหรือดำจางๆ และด้านท้องมีสีขาว
- เป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 6-13 ตัว โดยตัวอ่อนได้รับสารอาหารจากถุงไข่แดง ปลาที่โตเต็มวัยมีอายุ 8-15 ปี ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก ปลาหมึก กุ้งและปูเป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นท้องทะเลที่เป็นทรายหรือโคลนตามไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำ 100-300 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบเฉพาะทางฝั่งอ่าวไทย (แหล่งจับปลาตัวนี้อยู่ในบริเวณทะเลจีนใต้)
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2009)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2009)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA848552
848552
2
PRJNA835906
835906
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
นกเค้าโมง,นกเค้าแมว
Glaucidium cuculoides
Ophiothrix purpurea
Conus planorbis
กั้งกระดานหอยมือเสือ
Scyllarides tridacnophaga
ผีเสื้อลายเสือขีดขาว
Danaus (Anosia) melanippus
Cuculus vagans
Previous
Next