Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Squalus hemipinnis
Squalus hemipinnis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Squalus hemipinnis
White, Last & Yearsley, 2007
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Indonesian Shortsnout Spurdog
-
Spiny dogfishes
-
Indonesian shortsnout spurdog
ชื่อไทย::
-
ฉลามหลังหนาม
-
ปลาฉลามหนามยาว, ปลาฉลามแมว
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Squaliformes
วงศ์::
Squalidae
สกุล:
Squalus
ที่มา :
ทัศพล กระจ่างดารา
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
19 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
19 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ทะเลอันดามัน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 78 ซม. ขนาดทั่วไปที่พบ 40-60 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 42-50 ชม. เพศเมีย 58-74 ซม. และขนาดแรกเกิด 16-20 ชม.
- ส่วนหัวแคบ จะงอยปากสั้นโค้งมน ความกว้างส่วนหัวที่ตำแหน่งขอบหน้าของปาก 8.9-10.0 % ของความยาวตลอดตัว และความกว้างของปากน้อยกว่า 7.7 8ของความยาวตลอดตัว หนามแข็งหน้าครีบหลังอันแรกยาว ขอบท้ายครีบหลังอันที่สองเว้าลึกเป็นรูปตัววี ลำตัวสีน้ำตาลหรือเทา ด้านบนลำตัวเป็นสีน้ำตาลเข้มหรือเทาดำ และด้านท้องมีสีขาว ปลายครีบหลังทั้งสองอันมีขอบสีดำ ขอบท้ายครีบอก ครีบท้อง
และครีบหางค่อนข้างใสหรือมีสีขาว
- เป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 3-10 ตัว โดยตัวอ่อนได้รับสารอาหารจากถุงไข่แดง ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก ปลาหมึก กุ้งและปูเป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นท้องทะเลตามไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำมากกว่า 100 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบเฉพาะทางฝั่งทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อนำมาบริโภค ตับใช้ทำน้ำมัน ตับปลาและสกัดวิตามินเอ ผิวหนังใช้ทำกระดาษทรายและเครื่องหนัง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2009)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2009)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
นกหัวขวานหัวเหลือง
Gecinulus grantia
Calandrella brachydactyla
ผีเสื้อ
Orybina flaviplaga
ค้างคาวตีนปุ่ม
Eudiscopus denticulus
Megalaima rafflesii
นกกระแตหัวเทา
Vanellus cinereus
Previous
Next