Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Spondias bipinnata
Spondias bipinnata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Spondias bipinnata
Airy Shaw & Forman
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
มะกัก
-
มะกอกป่า
ชื่อท้องถิ่น::
-
กอกกัก, มะกอกป่า, หมักกัก
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Sapindales
วงศ์::
Anacardiaceae
สกุล:
Spondias
วันที่อัพเดท :
1 ก.พ. 2564 09:32 น.
วันที่สร้าง:
1 ก.พ. 2564 09:32 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 15-25 เมตร เปลือกเรียบ เป็นมัน ใบ ประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงเวียน ใบย่อยเรียงตรงข้าม รูปขอบขนานแกมรูปไข่ กว้าง 1-3 เซนติเมตร ยาว 1.5-9 เซนติเมตร ปลายเรียวแลม โคนเบี้ยวขอบเรียบ ดอก แบบช่อแยกแขนง ออกที่ปลายยอด ดอกสีขาวอมเหลือง สีเหลืองนวล ช่อดอกยาว 40-50 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ ฐานดอกรูปถ้วย เกสรเพศผู้ 10 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ ค่อนข้างกลม มี 5 ช่อง ผล เป็นผลผนังชั้นในแข็ง ทรงกลมรี เส้นผ่านศูนย์กลาง 3.5-4.5 เซนติเมตร ผลสุกสีเหลือง เมล็ดรูปไข่ มี 2-3 เมล็ด
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 15-25 เมตร เปลือกเรียบ เป็นมัน ใบ ประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงเวียน ใบย่อยเรียงตรงข้าม รูปขอบขนานแกมรูปไข่ กว้าง 1-3 เซนติเมตร ยาว 1.5-9 เซนติเมตร ปลายเรียวแลม โคนเบี้ยวขอบเรียบ ดอก แบบช่อแยกแขนง ออกที่ปลายยอด ดอกสีขาวอมเหลือง สีเหลืองนวล ช่อดอกยาว 40-50 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ ฐานดอกรูปถ้วย เกสรเพศผู้ 10 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ ค่อนข้างกลม มี 5 ช่อง ผล เป็นผลผนังชั้นในแข็ง ทรงกลมรี เส้นผ่านศูนย์กลาง 3.5-4.5 เซนติเมตร ผลสุกสีเหลือง เมล็ดรูปไข่ มี 2-3 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
N, NE, C & SW Thailand
-
พืชถิ่นเดียวของไทย พบตามป่าดิบแล้งและบริเวณเขาหินปูน
-
พืชถิ่นเดียวของไทย พบตามป่าดิบแล้งและบริเวณเขาหินปูน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
ตาก
-
นครศรีธรรมราช
-
สุพรรณบุรี
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
นครศรีธรรมราช
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ยะลา, นราธิวาส
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
On limestone, mixed deciduous forest, low altitudes.
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ช่วงออกดอกและติดผล ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ติดผลเดือนเมษายน-มิถุนายน
-
ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ติดผลเดือนเมษายน-มิถุนายน
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด
-
เพาะเมล็ด
ระบบนิเวศ
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
กระดุมไพลิน
Centratherum punctatum
หญ้าปากควาย
Dactyloctenium egyptium
Hedyotis viarum
Trichoglottis bipunctata
แดงคลอง
Syzygium syzygioides
ไก่ย่าน
Aeschynanthus longiflorus
Previous
Next