Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Sonneratia ovata
Sonneratia ovata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Sonneratia ovata
Backer
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
ลำแพน
-
ลําแพน
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Myrtales
วงศ์::
Lythraceae
สกุล:
Sonneratia
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 18:59 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 18:59 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น (Tree)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นไม่ผลัดใบ ขนาดเล็กถึงกลาง สูง 4-12 ม. แตกกิ่งต่ำ กิ่งแขนงมักเป็นสี่เหลี่ยมเปราะ เปลือกเรียบถึงแตกเป็นร่องตามยาวตื้นๆ สีน้ำตาลอมชมพูถึงน้ำตาลอมเทา รากหายใจรูปคล้ายหมุด สูง 15-30 ซม.
ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก แผ่นใบรูปไข่ถึงรูปเกือบกลม ขนาด 3-8x4-10 ซม. โคนใบกลมถึงเกือบตัด ขอบใบเรียบ ปลายใบมนกลม ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน เนื้อใบอวบน้ำ ด้านบนสีเขียวคล้ำ ด้านล่างสีซีดกว่า ก้านใบแคบ ยาว 0.5-1.5 ซม.
ดอก เดี่ยว หรือเป็นช่อกระจุกสองด้าน ออกตามปลายกิ่ง ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ดอกตูมรูปทรงไข่กว้าง สีเขียวอมเหลือง ยาว 2-3 ซม. กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นท่อสั้นๆ แล้วผายออกเป็นรูประฆัง มีสันเด่นชัด ปลายแยกเป็น 6(-8) แฉก รูปสามเหลี่ยมแกมรูปไข่ ด้านนอกนุ่มคล้ายกำมะหยี่และมีแต้มสีชมพูเรื่อที่โคนกลีบด้านใน กลีบดอกไม่ปรากฏ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านเกสรเพศผู้สีขาว ก้านเกสรเพศเมียสีเขียวอ่อน ยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม ออกดอกตลอดทั้งปี
ผล แบบผลมีเนื้อหลายเมล็ด รูปทรงกลมแป้นคล้ายตลับ ปลายบุ๋มและมีติ่งแหลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4.5x2.5-3.5 ซม. สีเขียวเข้ม ตั้งบนหลอดกลีบเลี้ยงแผ่แบนเป็นจานรองรับตัวผล แฉกกลีบเลี้ยงงอหุ้มติดโคนผล ผลสุกเนื้อนิ่ม มีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมากฝังอยู่ในเนื้อผล ออกผลตลอดทั้งปี
การกระจายพันธุ์ :
-
ประเทศไทย กัมพูชา มาเลเซียและหมู่เกาะมลายู (ยกเว้นบอร์เนียว) อินโดนีเซีย ตลอดถึงปาปัวนิวกีนี และควีนแลนด์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA849382
849382
2
PRJNA817364
817364
3
PRJNA805666
805666
4
PRJNA772592
772592
5
PRJNA732004
732004
6
PRJNA592291
592291
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
พันธุ์ไม้ป่าชายเลน, กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2563
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Chaetomitrium torquescens
Garckea phascoides
ลำดวน
Melodorum fruticosum
Zingiber rarissimum
Eragrostis gangetica
Stephania reticulata
Previous
Next