Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Artabotrys spinosus
Artabotrys spinosus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Artabotrys spinosus
Craib
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
นาวน้ำ
ชื่อท้องถิ่น::
-
หัวชุม
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Magnoliales
วงศ์::
Annonaceae
สกุล:
Artabotrys
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มเลื้อย กิ่งมีหนาม ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 ซม. ยาว 5-9 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบตัดหรือเป็นติ่งเล็กๆ ขอบใบเรียบ ดอกสีเขียว ออกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก มี 1-4 ดอก มักเจริญเพียงดอกเดียว ก้านดอกยาว 2.5 ซม. กลีบรองดอก 3 กลีบ รูปไข่แกมสามเหลี่ยม กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็นสองวง วงละ 3 กลีบ กลีบด้านนอกมีขนาดใหญ่รูปไข่กลับ โคนเป็นแผ่นกลม กว้าง 0.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. กลีบด้านในขนาดเล็กกว่า รูปไข่กลับ โคนเป็นรูปสามเหลี่ยมชิดกันหุ้มเกสรข้างใน เกสรผู้จำนวนมาก รูปขอบขนาน เกสรเมียมีประมาณ 10 อัน ที่โคนมีขนยาวปกคลุม
-
ไม้พุ่มเลื้อย กิ่งมีหนาม ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 ซม. ยาว 5-9 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบตัดหรือเป็นติ่งเล็กๆ ขอบใบเรียบ ดอกสีเขียว ออกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก มี 1-4 ดอก มักเจริญเพียงดอกเดียว ก้านดอกยาว 2.5 ซม. กลีบรองดอก 3 กลีบ รูปไข่แกมสามเหลี่ยม กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็นสองวง วงละ 3 กลีบ กลีบด้านนอกมีขนาดใหญ่รูปไข่กลับ โคนเป็นแผ่นกลม กว้าง 0.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. กลีบด้านในขนาดเล็กกว่า รูปไข่กลับ โคนเป็นรูปสามเหลี่ยมชิดกันหุ้มเกสรข้างใน เกสรผู้จำนวนมาก รูปขอบขนาน เกสรเมียมีประมาณ 10 อัน ที่โคนมีขนยาวปกคลุม
-
ไม้พุ่มเลื้อย กิ่งมีหนาม ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 ซม. ยาว 5-9 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบตัดหรือเป็นติ่งเล็กๆ ขอบใบเรียบ ดอกสีเขียว ออกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก มี 1-4 ดอก มักเจริญเพียงดอกเดียว ก้านดอกยาว 2.5 ซม. กลีบรองดอก 3 กลีบ รูปไข่แกมสามเหลี่ยม กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็นสองวง วงละ 3 กลีบ กลีบด้านนอกมีขนาดใหญ่รูปไข่กลับ โคนเป็นแผ่นกลม กว้าง 0.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. กลีบด้านในขนาดเล็กกว่า รูปไข่กลับ โคนเป็นรูปสามเหลี่ยมชิดกันหุ้มเกสรข้างใน เกสรผู้จำนวนมาก รูปขอบขนาน เกสรเมียมีประมาณ 10 อัน ที่โคนมีขนยาวปกคลุม
-
ไม้พุ่มเลื้อย กิ่งมีหนาม ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 ซม. ยาว 5-9 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบตัดหรือเป็นติ่งเล็กๆ ขอบใบเรียบ ดอกสีเขียว ออกเดี่ยวหรือเป็นกระจุก มี 1-4 ดอก มักเจริญเพียงดอกเดียว ก้านดอกยาว 2.5 ซม. กลีบรองดอก 3 กลีบ รูปไข่แกมสามเหลี่ยม กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็นสองวง วงละ 3 กลีบ กลีบด้านนอกมีขนาดใหญ่รูปไข่กลับ โคนเป็นแผ่นกลม กว้าง 0.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. กลีบด้านในขนาดเล็กกว่า รูปไข่กลับ โคนเป็นรูปสามเหลี่ยมชิดกันหุ้มเกสรข้างใน เกสรผู้จำนวนมาก รูปขอบขนาน เกสรเมียมีประมาณ 10 อัน ที่โคนมีขนยาวปกคลุม
-
ออกดอกเดือนมกราคม-มีนาคม ติดผลเดือนมีนาคม-เมษายน
การกระจายพันธุ์ :
-
ขึ้นกระจายในภูมิภาคอินโดจีน เป็นพันธุ์ไม้ที่สำรวจพบใหม่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ จ.มหาสารคาม ชอบขึ้นอยู่ตามริมน้ำในป่าทุ่ง
-
ขึ้นกระจายในภูมิภาคอินโดจีน เป็นพันธุ์ไม้ที่สำรวจพบใหม่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ จ.มหาสารคาม ชอบขึ้นอยู่ตามริมน้ำในป่าทุ่ง
-
ขึ้นกระจายในภูมิภาคอินโดจีน เป็นพันธุ์ไม้ที่สำรวจพบใหม่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ จ.มหาสารคาม ชอบขึ้นอยู่ตามริมน้ำในป่าทุ่ง
-
ขึ้นกระจายในภูมิภาคอินโดจีน เป็นพันธุ์ไม้ที่สำรวจพบใหม่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ จ.มหาสารคาม ชอบขึ้นอยู่ตามริมน้ำในป่าทุ่ง
-
เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันออกฉียงเหนือและตะวันออก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มกึ่งเลื้อย สูง 3-4 เมตร กิ่งแก่สีน้ำตาลเข้ม มีรอยแตกสีน้ำตาลอ่อน ใบ เดี่ยวเรียงสลับระนาบเดียว รูปกึ่งไข่กลับ กว้าง 4-6 เซนติเมตรยาว 7-8 เซนติเมตร ปลายป้านโคนแหลม ดอก เดี่ยวหรือแบบช่อกระจะ ออกเกือบตรงข้ามใบ ก้านดอก ยาว 2-3 เซนติเมตร มีขนสั้นปกคลุม กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปกึ่งสามเหลี่ยม สีเขียว กลีบม้วนลง กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็นสองวง วงละ 3 กลีบ ขอบโค้งเข้าหากันตอนบน ยื่นแยกจากแผ่นกลีบ มีขนสั้น ด้านนอกสีขาวอมเขียวอ่อน ด้านในสีม่วงแดง เกสรเพศผู้จำนวนมาก รังไข่เหนือวงกลีบ ผล กลุ่ม ผลย่อยแบบผลผนังชั้นในแข็ง ผลย่อย 3-8 ผล รูปรีแกมกระสวย เมื่อสุกสีเหลืองอมเขียว มีประสีเขียวอ่อนทั่วไปมี 1-3 เมล็ด
การขยายพันธุ์ :
-
ตอนกิ่ง เพาะเมล็ด
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Show
10
25
50
100
entries
Search:
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-P-2011-0741
NSM
Chiang Rai
THNHM-P-2011-0742
NSM
Chiang Rai
THNHM-P-2011-0743
NSM
Chiang Rai
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Showing 1 to 3 of 3 entries
Previous
1
Next
ที่มาของข้อมูล
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
พุดสามสี
Brunfelsia uniflora
Pinanga malaiana
กุหลาบมลายู
Rhododendron malayanum
แสล่งหอมไก๋
Rothmania sootepensis
Oberonia ensiformis
Cleisostoma krabiense
Previous
Next