Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Sinobatis andamanensis
Sinobatis andamanensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Sinobatis andamanensis
Last & Bussarawit, 2016
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Andaman legskate
ชื่อไทย:
-
กระเบนขายาว
-
กระเบนขายาว, กระเบนขายาวอันดามัน
-
ปลากระเบนขายาว
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Rajiformes
วงศ์::
Anacanthobatidae
สกุล:
Sinobatis
ที่มา :
Last and Bussarawit (2016)
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
23 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
23 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ทะเลอันดามัน
-
ทะเลอันดามันตอนบนนอกชายฝั่งเกาะภูเก็ต
ระบบนิเวศ :
-
Marine
-
บริเวณพื้นท้องทะเลตามไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำ 508-518 เมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 43 ชม. (จากตัวอย่างที่สำรวจพบจำนวน 6 ตัว) ขนาดที่พบ 28-43 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 33-38 ชม. และเพศเมีย 43 ชม.
- แผ่นลำตัวมีรูปร่างคล้ายรูปหัวใจ จะงอยปากแหลมยาว ครีบท้องแบ่งแยกเป็น 2 ส่วน โดยครีบท้องส่วนหน้าเรียวยาวคล้ายเป็นขา ไม่มีครีบหลัง ส่วนหางเรียวยาว และสั้นกว่าความยาวแผ่นลำตัว มีแพน
ครีบหางขนาดเล็กที่ปลายหาง ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลถึงเทาออกชม (บางตัวออกเป็นสีฟ้าอ่อน) ด้านท้องสีขาว หรือค่อนข้างใส และมีสีอ่อนกว่าด้านบน
- มีรายงานข้อมูลชีววิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นไข่ เหมือนปลาในอันดับ Rajiformes
การกระจายพันธุ์ :
-
ซึ่งในเขตน่านน้ำไทยพบเฉพาะทางฝั่งทะเลอันดามัน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ภูเก็ต
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
งานวิจัย
Deep-sea fished collected from the Andaman Sea by R/V Chakrathong Tongyai during 1996–2000 Part 9: Orders Chimaeriformes, Cacharhiniformes, Torpediniformes and Rajiformes
กฏหมาย
Deep-sea fished collected from the Andaman Sea by R/V Chakrathong Tongyai during 1996–2000 Part 9: Orders Chimaeriformes, Cacharhiniformes, Torpediniformes and Rajiformes
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Macrotermes gilvus
ผีเสื้อจุดตาลลายตรง
Erites falcipennis
Actinodiscus unguja
Mancinella mancinella
Tucetona montrouzieri
ผีเสื้อปีกขอ
Tethea aenea
Previous
Next