Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Scorodocarpus borneensis
Scorodocarpus borneensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Scorodocarpus borneensis
Becc.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Ximenia borneensis Baill.
ชื่อสามัญ::
-
Kra thiam ton
ชื่อไทย::
-
กุหลิม, กระเทียมต้น
-
กระเทียมต้น
ชื่อท้องถิ่น::
-
Ku lim
-
กระเทียมต้น (ภาคใต้); กุเลง, กุหลิม (มาเลย์-ภาคใต้)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Santalales
วงศ์::
Strombosiaceae
สกุล:
Scorodocarpus
วันที่อัพเดท :
1 ก.พ. 2564 09:41 น.
วันที่สร้าง:
1 ก.พ. 2564 09:41 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 7-22 ซม. แผ่นใบ ด้านบนเป็นมันวาว มีปุ่มกระจาย ก้านใบยาว 1-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ ออกตามซอกใบ มีขนละเอียด ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกลุ่ม 2-3 ดอก ก้านดอกยาว ประมาณ 2 มม. ขยายในผล กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ 4-5 กลีบ กลีบดอก 4-5 กลีบ รูปใบหอก ยาว 0.8-1 ซม. มีขนยาวนุ่มคล้ายแปรงด้านใน ปลายพับงอกลับ เกสรเพศผู้ จำนวน 2 เท่าของกลีบดอก ติดเป็นคู่ด้านล่างกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณู รูปแถบ ยาว 3-4 มม. รังไข่มี 3-4 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ยอดเกสรจัก 3-4 พู ผลผนังชั้นในแข็ง กลมหรือคล้ายรูปลูกแพร์ เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-7 ซม. มีริ้วจำนวนมาก ก้านผลหนา ผนังด้านในหนา 2-2.5 ซม. มีเส้นใย หนาแน่น มีเมล็ดเดียว
พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว และภาคใต้ตอนล่างของไทย ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร ใบ เปลือก และผล มีกลิ่นคล้ายกระเทียม ใน มาเลเซียใช้ปรุงอาหารแทนกระเทียม ผลใช้บรรเทาพิษที่เกิดจากยางน่อง Antiaris toxicaria Lesch.
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 7-22 ซม. แผ่นใบ ด้านบนเป็นมันวาว มีปุ่มกระจาย ก้านใบยาว 1-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ ออกตามซอกใบ มีขนละเอียด ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกลุ่ม 2-3 ดอก ก้านดอกยาว ประมาณ 2 มม. ขยายในผล กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ 4-5 กลีบ กลีบดอก 4-5 กลีบ รูปใบหอก ยาว 0.8-1 ซม. มีขนยาวนุ่มคล้ายแปรงด้านใน ปลายพับงอกลับ เกสรเพศผู้ จำนวน 2 เท่าของกลีบดอก ติดเป็นคู่ด้านล่างกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณู รูปแถบ ยาว 3-4 มม. รังไข่มี 3-4 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ยอดเกสรจัก 3-4 พู ผลผนังชั้นในแข็ง กลมหรือคล้ายรูปลูกแพร์ เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-7 ซม. มีริ้วจำนวนมาก ก้านผลหนา ผนังด้านในหนา 2-2.5 ซม. มีเส้นใย หนาแน่น มีเมล็ดเดียว
พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว และภาคใต้ตอนล่างของไทย ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร ใบ เปลือก และผล มีกลิ่นคล้ายกระเทียม ใน มาเลเซียใช้ปรุงอาหารแทนกระเทียม ผลใช้บรรเทาพิษที่เกิดจากยางน่อง Antiaris toxicaria Lesch.
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 7-22 ซม. แผ่นใบ ด้านบนเป็นมันวาว มีปุ่มกระจาย ก้านใบยาว 1-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ ออกตามซอกใบ มีขนละเอียด ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกลุ่ม 2-3 ดอก ก้านดอกยาว ประมาณ 2 มม. ขยายในผล กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ 4-5 กลีบ กลีบดอก 4-5 กลีบ รูปใบหอก ยาว 0.8-1 ซม. มีขนยาวนุ่มคล้ายแปรงด้านใน ปลายพับงอกลับ เกสรเพศผู้ จำนวน 2 เท่าของกลีบดอก ติดเป็นคู่ด้านล่างกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณู รูปแถบ ยาว 3-4 มม. รังไข่มี 3-4 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ยอดเกสรจัก 3-4 พู ผลผนังชั้นในแข็ง กลมหรือคล้ายรูปลูกแพร์ เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-7 ซม. มีริ้วจำนวนมาก ก้านผลหนา ผนังด้านในหนา 2-2.5 ซม. มีเส้นใย หนาแน่น มีเมล็ดเดียว
พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว และภาคใต้ตอนล่างของไทย ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร ใบ เปลือก และผล มีกลิ่นคล้ายกระเทียม ใน มาเลเซียใช้ปรุงอาหารแทนกระเทียม ผลใช้บรรเทาพิษที่เกิดจากยางน่อง Antiaris toxicaria Lesch.
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 7-22 ซม. แผ่นใบ ด้านบนเป็นมันวาว มีปุ่มกระจาย ก้านใบยาว 1-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ ออกตามซอกใบ มีขนละเอียด ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกลุ่ม 2-3 ดอก ก้านดอกยาว ประมาณ 2 มม. ขยายในผล กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ 4-5 กลีบ กลีบดอก 4-5 กลีบ รูปใบหอก ยาว 0.8-1 ซม. มีขนยาวนุ่มคล้ายแปรงด้านใน ปลายพับงอกลับ เกสรเพศผู้ จำนวน 2 เท่าของกลีบดอก ติดเป็นคู่ด้านล่างกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณู รูปแถบ ยาว 3-4 มม. รังไข่มี 3-4 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ยอดเกสรจัก 3-4 พู ผลผนังชั้นในแข็ง กลมหรือคล้ายรูปลูกแพร์ เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-7 ซม. มีริ้วจำนวนมาก ก้านผลหนา ผนังด้านในหนา 2-2.5 ซม. มีเส้นใย หนาแน่น มีเมล็ดเดียว
พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว และภาคใต้ตอนล่างของไทย ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร ใบ เปลือก และผล มีกลิ่นคล้ายกระเทียม ใน มาเลเซียใช้ปรุงอาหารแทนกระเทียม ผลใช้บรรเทาพิษที่เกิดจากยางน่อง Antiaris toxicaria Lesch.
การกระจายพันธุ์ :
-
Sumatra, Borneo, Malay Pen, Pen Thailand: Yala, Narathiwat (Hala-Bala)
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Tropical rain forest, 200 m.
-
อุทยานแห่งชาติ บางลาง
-
อุทยานแห่งชาติ บูโด-สุไหงปาดี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะกล้า
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะกล้า
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะกล้า
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะกล้า
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ยะลา
-
นราธิวาส
-
ยะลา, นราธิวาส
-
ยะลา, นราธิวาส
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Gloriosa superba
Ficus arnottiana
สิรินธรวัลลี
Phanera sirindhorniae
ย่านาง
Tiliacora triandra
Boesenbergia tenuispicata
ขาวปั้น
Scabiosa siamensis
Previous
Next