Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Scoparia dulcis
Scoparia dulcis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Scoparia dulcis
L.
ชื่อสามัญ::
-
Licorice weed
-
Goat weed, Licorice weed, Macao tea, Sweet broom w
ชื่อไทย:
-
กระต่ายจาม
-
กรดน้ำ
-
หญ้าขัดมอน
ชื่อท้องถิ่น::
-
กรดน้ำ กัญชาป่า ไฟเดือนห้า ขัดมอนเทศ ตานซาน เทียนน
-
กรดน้ำ (Krot nam)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Plantaginaceae
สกุล:
Scoparia
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
พืชล้มลุก อายุปีเดียว สูง 30-50 ซม. ลำต้นเป็นเหลี่ยม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกรอบกิ่งเป็นวง วงละ 3 ใบ รูปไข่กลับถึงแกมขอบขนาน กว้าง 0.5-1.5 ซม. ยาว 1-3 ซม. โคนใบและปลายใบแหลมหรือมน ขอบใบจัก ก้านใบสั้นไม่เด่นชัด ดอกสีขาวหรือแกมสีม่วงอ่อน เป็นดอกเดี่ยวออกตากซอกใบ ขนาดดอกบาน 8-10 มม. กลีบดอก 4 กลีบ ปลายกลีบแหลม บริเวณโคนกลีบด้านในมีขนสีขาวละเอียด ก้านดอกยาว 4-8 มม. เกสรผู้ 4 อัน ตั้งบนฐานกลีบดอก เกสรเมียตอนปลายยอดเป็นปุ่มใหญ่ ผลรูปทรงกลม ขนาด 3 มม. ผิวเรียบ เกลี้ยง มีเมล็ดสีน้ำตาลอ่อนจำนวนมาก
-
พืชล้มลุก สูง ๒๐-๔๐ เซนติเมตร กิ่งมีหลายเหลี่ยม ใบเกลี้ยง เรียงตรงข้าม เป็นคู่ หรือเรียงรอบข้อ ๓ ใบ ขอบใบหยัก มีดอกสีขาวขนาดเล็ก ออกตามซอกใบ พบทั่วประเทศไทย ชอบขึ้นตามพื้นที่ชุ่มชื้นในไร่นาหรือใกล้ร่องน้ำ
-
พืชล้มลุก อายุปีเดียว สูง 30-50 ซม. ลำต้นเป็นเหลี่ยม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกรอบกิ่งเป็นวง วงละ 3 ใบ รูปไข่กลับถึงแกมขอบขนาน กว้าง 0.5-1.5 ซม. ยาว 1-3 ซม. โคนใบและปลายใบแหลมหรือมน ขอบใบจัก ก้านใบสั้นไม่เด่นชัด ดอกสีขาวหรือแกมสีม่วงอ่อน เป็นดอกเดี่ยวออกตากซอกใบ ขนาดดอกบาน 8-10 มม. กลีบดอก 4 กลีบ ปลายกลีบแหลม บริเวณโคนกลีบด้านในมีขนสีขาวละเอียด ก้านดอกยาว 4-8 มม. เกสรผู้ 4 อัน ตั้งบนฐานกลีบดอก เกสรเมียตอนปลายยอดเป็นปุ่มใหญ่ ผลรูปทรงกลม ขนาด 3 มม. ผิวเรียบ เกลี้ยง มีเมล็ดสีน้ำตาลอ่อนจำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนทางทวีปอเมริกา ปัจจุบันพบทั่วไปในเขตร้อน ขึ้นตามที่แห้งแล้ง โล่งแจ้งที่ระดับความสูงถึง 1,000 ม. ออกดอกและติดผลตลอดปี
-
มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนทางทวีปอเมริกา ปัจจุบันพบทั่วไปในเขตร้อน ขึ้นตามที่แห้งแล้ง โล่งแจ้งที่ระดับความสูงถึง 1,000 ม. ออกดอกและติดผลตลอดปี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย/กลุ่มป่าแก่งกระจาน (อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติกุยบุรี อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำภาชี)
ถิ่นกำเนิด :
-
เขตร้อนในทวีปอเมริกา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบุรี,ประจวบคีรีขันธ์,ราชบุรี
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
-
สมุนไพร
-
มาทุบผสมกับขมิ้นสดมาต้มประคบแผล
-
4.1 Medicine for human (ยารักษาโรคมนุษย์)
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA739532
739532
2
PRJNA438407
438407
3
PRJDB4273
384864
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
คู่มือพันธ์ุไม้ท้องถิ่น ตำ บลแม่กิ๊ อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน, สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Amphiroa fragilissima
Dendrobium polyanthum
Derris robusta
Psilotum complanatum
Boesenbergia alba
Miliusa campanulata
Previous
Next