Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Scindapsus officinalis
Scindapsus officinalis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Scindapsus officinalis
Schott
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Monstera officinalis (Roxb.) Schott
- Pothos officinalis Roxb.
- Scindapsus annamicus Gagnep.
ชื่อสามัญ::
-
Khruea ngu khiao
ชื่อไทย:
-
พลูช้าง
-
เครืองูเขียว
-
เครืองูเขียว (หนองคาย), หีควาย (กรุงเทพฯ), ดิป๊ามซุง (เมี่ยน)
ชื่อท้องถิ่น::
-
พลูช้าง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Alismatales
วงศ์::
Araceae
สกุล:
Scindapsus
ที่มา :
ฉัตรชัย เงินแสงสรวย
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 02:53 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 02:53 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Climber or creeping herb.
-
ไม้เถา
-
จัดเป็นพรรณไม้เลื้อยเนื้ออ่อน ลำต้นมีลักษณะอวบและฉ่ำน้ำ ชอบเลื้อยพาดตามก้อนหินหรืออาศัยเกาะอยู่ตามไม้ยืนต้นอื่นๆ ล่าต้นมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร
ระบบนิเวศ :
-
Deciduos dipterocarp, dry evergreen and mixed deciduous forests, to 600 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Nepal, India, Indochina.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChiangMai,Lampang,Tak,NongKhai,Mukdahan,Chaiyaphum,BuriRam,Ratchaburi,Bangkok,ChonBuri
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
มุกดาหาร
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติสามร้อยยอด
-
ภูผาเทิบ
-
สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เลื้อย/ไม้เถา
-
ใบ - ใบเป็นใบเดี่ยว ออกสลับกัน แผ่นใบเป็นสีเขียวเข้ม ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ รูปรีแกมไข่หรือรูปไข่เบี้ยวแกมรูปรี ปลายใบเรียวแหลม โคนใบกลมหรือเว้าเป็นรูปหัวใจตื้นๆ ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 6.5-15 เซนติเมตร และยาวประมาณ 12.5-25.5 เซนติเมตร แผ่นใบเกลี้ยงเป็นมัน เส้นใบมองเห็นได้ชัดเจน ก้านใบแผ่เป็นครีบ
ดอก - ออกดอกเป็นช่อเดี่ยวๆ บริเวณยอด ดอกมีลักษณะเป็นแท่งกลมยาวและมีก้านช่อดอกสั้นกว่าก้านใบมาก กาบหุ้มช่อดอกด้านนอกเป็นสีเขียว ส่วนด้านในเป็นสีเหลือง กาบที่หุ้มบนแท่งช่อดอกจะประกอบไปด้วยดอกสมบูรณ์เพศจ่านวนมากเรียงอัดกันแน่น แต่ละดอกนั้นจะมีเกสรเพศผู้ประมาณ 4-6 อัน
ส่วนรังไข่จะมีอยู่ 1 ช่อง
ผล - ผลเป็นผลสดมีเนื้อนุ่มฉ่ำน้ำเหมือนมะเขือเทศ แต่มีขนาดเล็กและมีจ่านวนน้อย ลักษณะของผลเป็นรูปไข่ ภายในผลมีเมล็ดลักษณะเป็นรูปไข่แก้มรูปหัวใจ
ระบบนิเวศ
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dracaena cantleyi
Mangifera macrocarpa
Lithocarpus mekongensis
Symplocos theifolia
Piper chaba
Trichoglottis seidenfadenii
Previous
Next