Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Schrebera swietenides
Schrebera swietenides
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Schoutenia glomerata
King
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
มะกอกโคก
ชื่อท้องถิ่น::
-
กอกดอน กอกผี กอกปีศาจ มะกอกเผือก กอกเขมร
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malvales
วงศ์::
Malvaceae
สกุล:
Schrebera
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 7-15 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 7-9 ใบ รูปไข่ กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-7 ซม. โคนใบมนหรือสอบเรียว ปลาบใบแหลม แผ่นใบค่อนข้างหนา ดอกสีเหลืองอมน้ำตาล กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ยอด กลีบรองดอก 5 กลีบ กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5-7 แฉก ผลเป็นผลแห้ง ทรงกลม เปลือกแข็ง สีน้ำตาลอ่อนก้นป่องเล็กน้อย กว้าง 4 ซม. ยาว 5-6.5 ซม. เมื่อแก่จะแตกจากด้านล่างเป็น 2 ซีก
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 7-15 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 7-9 ใบ รูปไข่ กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-7 ซม. โคนใบมนหรือสอบเรียว ปลาบใบแหลม แผ่นใบค่อนข้างหนา ดอกสีเหลืองอมน้ำตาล กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ยอด กลีบรองดอก 5 กลีบ กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5-7 แฉก ผลเป็นผลแห้ง ทรงกลม เปลือกแข็ง สีน้ำตาลอ่อนก้นป่องเล็กน้อย กว้าง 4 ซม. ยาว 5-6.5 ซม. เมื่อแก่จะแตกจากด้านล่างเป็น 2 ซีก
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดีย พม่า จนถึงภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าผลัดใบผสม ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมกราคม-เมษายน
-
จากอินเดีย พม่า จนถึงภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าผลัดใบผสม ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมกราคม-เมษายน
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA546411
546411
2
PRJNA546367
546367
3
PRJNA541707
541707
4
PRJNA541698
541698
5
PRJNA541637
541637
6
PRJNA506987
506987
7
PRJNA435341
435341
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Sonerila picta
Boesenbergia pandurata
อรพิม (คิ้วนาง)
Bauhinia winitii
คันหามเสือ
Schefflera heterophylla
Elsholtzia griffithii
ดอกหรีดลักษณา (ดอกหรีดกอ, ลักษณา)
Gentiana hesseliana
Previous
Next