Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Schizomussaenda dehiscens
Schizomussaenda dehiscens
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Schizomussaenda dehiscens
(Craib) H.L.Li
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
กำเบ้อต้น
ชื่อท้องถิ่น::
-
กะบอ บ่วงม้ามืด
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Rubiaceae
สกุล:
Schizomussaenda
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูง 3-8 ม. กิ่งอ่อนมีขนสีเทา ใบเป็นใบเดี่ยวรูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 3-6 ซม. ยาว 10-18 ซม. โคนสอบหรือมน ปลายใบเรียวแหลม ก้านใบยาว 0.8-1.5 ซม. มีหูใบรูปหอก ดอกสีเหลืองอ่อนแกมสีส้ม ออกเป็นช่อที่ปลายยอด กลีบรองดอก 5 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน กลีบหนึ่งสีขาวนวล ขยายใหญ่คล้ายใบ กว้าง 3-6.5 ซม. ยาว 8-15 ซม. กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก มนถึงเว้า เกสรผู้ 5 อัน อยู่ภายในหลอดดอก เกสรเมียปลายแยกเป็น 2 แฉก ผลรูปไข่กลับหรือรูปรี กว้าง 4-5 มม. ยาว 6-8 มม. เมื่อแก่แล้วแตก
-
ไม้พุ่ม สูง 3-8 ม. กิ่งอ่อนมีขนสีเทา ใบเป็นใบเดี่ยวรูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 3-6 ซม. ยาว 10-18 ซม. โคนสอบหรือมน ปลายใบเรียวแหลม ก้านใบยาว 0.8-1.5 ซม. มีหูใบรูปหอก ดอกสีเหลืองอ่อนแกมสีส้ม ออกเป็นช่อที่ปลายยอด กลีบรองดอก 5 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน กลีบหนึ่งสีขาวนวล ขยายใหญ่คล้ายใบ กว้าง 3-6.5 ซม. ยาว 8-15 ซม. กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก มนถึงเว้า เกสรผู้ 5 อัน อยู่ภายในหลอดดอก เกสรเมียปลายแยกเป็น 2 แฉก ผลรูปไข่กลับหรือรูปรี กว้าง 4-5 มม. ยาว 6-8 มม. เมื่อแก่แล้วแตก
การกระจายพันธุ์ :
-
พบกระจายในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามป่าดิบชื้นที่ระดับความสูง 400-800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน
-
พบกระจายในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามป่าดิบชื้นที่ระดับความสูง 400-800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
หน่วยนกงุมใบหนา
Beilschmiedia elegantissima
ระไมรอด
Antidesma cuspidatum
Chloropicon roscoffensis
คำผีแปง
Caesalpinia minax
Eria carinata
Pilea microphylla
Previous
Next