Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Aristolochia grandis
Aristolochia grandis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Aristolochia grandis
Craib
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
นกขมิ้น
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Piperales
วงศ์::
Aristolochiaceae
สกุล:
Aristolochia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาเลื้อย มีเนื้อไม้ ใบเป็นใบเดี่ยวออกสลับ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 6.5-15 ซม. ยาว 11.5-25 ซม. ขอบใบเรียบหรือหยักเป็นคลื่นเล็กน้อย ท้องใบมีขนนุ่ม ก้านใบยาว 3.5-9 ซม. ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ มีดอกย่อย 1-2 ดอก ดอกยอ่ยปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาล ลักษณะเป็นท่อโค้ง ยาว 5-7 ซม. ด้านนอกมีเส้นสีน้ำตาล ขนานไปกับตัวดอก ส่วนโคนโป่งเป็นกระเปาะ ส่วนปลายแผ่กว้าง ประมาณ 1.5 ซม. ขอบพับขึ้น ด้านนอกสีแดง ด้านในสีเหลือง เกสรผู้อยู่ในหลอด ยาว 2.5 ซม. ปลายเกสรเมีย เป็น 6 พู รูปไข่ ปลายโค้งเข้าด้านในเล็กน้อย ยาว 4.5-4.8 ซม. ผลรูปกระสวย มี 6 สัน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 12-18 ซม. สีเทา มีขนนุ่ม เมื่อแก่แตกออกเป็น 6 แฉก
-
ไม้เถาเลื้อย มีเนื้อไม้ ใบเป็นใบเดี่ยวออกสลับ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 6.5-15 ซม. ยาว 11.5-25 ซม. ขอบใบเรียบหรือหยักเป็นคลื่นเล็กน้อย ท้องใบมีขนนุ่ม ก้านใบยาว 3.5-9 ซม. ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ มีดอกย่อย 1-2 ดอก ดอกยอ่ยปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาล ลักษณะเป็นท่อโค้ง ยาว 5-7 ซม. ด้านนอกมีเส้นสีน้ำตาล ขนานไปกับตัวดอก ส่วนโคนโป่งเป็นกระเปาะ ส่วนปลายแผ่กว้าง ประมาณ 1.5 ซม. ขอบพับขึ้น ด้านนอกสีแดง ด้านในสีเหลือง เกสรผู้อยู่ในหลอด ยาว 2.5 ซม. ปลายเกสรเมีย เป็น 6 พู รูปไข่ ปลายโค้งเข้าด้านในเล็กน้อย ยาว 4.5-4.8 ซม. ผลรูปกระสวย มี 6 สัน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 12-18 ซม. สีเทา มีขนนุ่ม เมื่อแก่แตกออกเป็น 6 แฉก
-
ไม้เถาเลื้อย มีเนื้อไม้ ใบเป็นใบเดี่ยวออกสลับ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 6.5-15 ซม. ยาว 11.5-25 ซม. ขอบใบเรียบหรือหยักเป็นคลื่นเล็กน้อย ท้องใบมีขนนุ่ม ก้านใบยาว 3.5-9 ซม. ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ มีดอกย่อย 1-2 ดอก ดอกยอ่ยปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาล ลักษณะเป็นท่อโค้ง ยาว 5-7 ซม. ด้านนอกมีเส้นสีน้ำตาล ขนานไปกับตัวดอก ส่วนโคนโป่งเป็นกระเปาะ ส่วนปลายแผ่กว้าง ประมาณ 1.5 ซม. ขอบพับขึ้น ด้านนอกสีแดง ด้านในสีเหลือง เกสรผู้อยู่ในหลอด ยาว 2.5 ซม. ปลายเกสรเมีย เป็น 6 พู รูปไข่ ปลายโค้งเข้าด้านในเล็กน้อย ยาว 4.5-4.8 ซม. ผลรูปกระสวย มี 6 สัน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 12-18 ซม. สีเทา มีขนนุ่ม เมื่อแก่แตกออกเป็น 6 แฉก
-
ไม้เถาเลื้อย มีเนื้อไม้ ใบเป็นใบเดี่ยวออกสลับ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 6.5-15 ซม. ยาว 11.5-25 ซม. ขอบใบเรียบหรือหยักเป็นคลื่นเล็กน้อย ท้องใบมีขนนุ่ม ก้านใบยาว 3.5-9 ซม. ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ มีดอกย่อย 1-2 ดอก ดอกยอ่ยปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาล ลักษณะเป็นท่อโค้ง ยาว 5-7 ซม. ด้านนอกมีเส้นสีน้ำตาล ขนานไปกับตัวดอก ส่วนโคนโป่งเป็นกระเปาะ ส่วนปลายแผ่กว้าง ประมาณ 1.5 ซม. ขอบพับขึ้น ด้านนอกสีแดง ด้านในสีเหลือง เกสรผู้อยู่ในหลอด ยาว 2.5 ซม. ปลายเกสรเมีย เป็น 6 พู รูปไข่ ปลายโค้งเข้าด้านในเล็กน้อย ยาว 4.5-4.8 ซม. ผลรูปกระสวย มี 6 สัน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 12-18 ซม. สีเทา มีขนนุ่ม เมื่อแก่แตกออกเป็น 6 แฉก
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย พบในป่าดิบ หรือป่าดิบแล้ง บริเวณริมน้ำหรือที่ชื้น ที่ความสูง 750-1,300 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม ติดผลเดือนสิงหาคม-กันยายน
-
N Thailand: Chiang Mai (Doi Suthep)
-
มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย พบในป่าดิบ หรือป่าดิบแล้ง บริเวณริมน้ำหรือที่ชื้น ที่ความสูง 750-1,300 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม ติดผลเดือนสิงหาคม-กันยายน
-
มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย พบในป่าดิบ หรือป่าดิบแล้ง บริเวณริมน้ำหรือที่ชื้น ที่ความสูง 750-1,300 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม ติดผลเดือนสิงหาคม-กันยายน
-
มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย พบในป่าดิบ หรือป่าดิบแล้ง บริเวณริมน้ำหรือที่ชื้น ที่ความสูง 750-1,300 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม ติดผลเดือนสิงหาคม-กันยายน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เถา, ไม้เลื้อย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Dry evergreen and lower montane forests, 700 − 1300 m.
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
นมเมีย
Hoya micrantha
Mallotus hymenophyllus
รักทะเล
Scaevola tacada
Dendrobium friedericksianum
ส้มสามตา
Oxalis corniculata
Leucoloma taylorii
Previous
Next