Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Aristolochia arenicola
Aristolochia arenicola
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Aristolochia arenicola
Hance
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Kom koi lot khon
ชื่อไทย::
-
กอมก้อยลอดขอน
-
ก้อมก้อยลอดขน
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Piperales
วงศ์::
Aristolochiaceae
สกุล:
Aristolochia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุกขนาดเล็ก ต้นเลื้อยแผ่ตามดิน ลำต้นสลับเป็นฟันปลา ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลม โคนเว้า ขนาด 2.0-3.5 ซม. ก้านใบยาวไม่เกิน 3 มม. เส้นใบเรียงแบบนิ้วมือ จำนวน 5-7 เส้น ผิวใบด้านบนมันเกลี้ยงด้านล่างมีขนปกคลุม ขอบใบมีขนแข็งและเป็นคลื่นเล็กน้อย ดอกเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. ดอกรูปรียาว กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ลักษณะค่อนข้างกลม กว้าง 3-6 ซม. ยาว 4-8 มม. ส่วนปลายมีลักษณะเป็นรยางค์ยาวยื่นออกไป กว้าง 1.5-2 มม. ยาว 2-3 มม. ผลเป็นผลแห้ง แก่แบ้วแตก รูปรีแกมกว้าง มีสันชัดเจน ขนาดกว้าง 1.2-1.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. ก้านผลยาว 1-1.5 ซม. เมล็ดเป็นรูปสามเหลี่ยมแกมรูปไข่ ไม่มีปีก
-
ไม้เถ้าล้มลุก
-
ไม้ล้มลุกขนาดเล็ก ต้นเลื้อยแผ่ตามดิน ลำต้นสลับเป็นฟันปลา ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลม โคนเว้า ขนาด 2.0-3.5 ซม. ก้านใบยาวไม่เกิน 3 มม. เส้นใบเรียงแบบนิ้วมือ จำนวน 5-7 เส้น ผิวใบด้านบนมันเกลี้ยงด้านล่างมีขนปกคลุม ขอบใบมีขนแข็งและเป็นคลื่นเล็กน้อย ดอกเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. ดอกรูปรียาว กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ลักษณะค่อนข้างกลม กว้าง 3-6 ซม. ยาว 4-8 มม. ส่วนปลายมีลักษณะเป็นรยางค์ยาวยื่นออกไป กว้าง 1.5-2 มม. ยาว 2-3 มม. ผลเป็นผลแห้ง แก่แบ้วแตก รูปรีแกมกว้าง มีสันชัดเจน ขนาดกว้าง 1.2-1.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. ก้านผลยาว 1-1.5 ซม. เมล็ดเป็นรูปสามเหลี่ยมแกมรูปไข่ ไม่มีปีก
-
ไม้ล้มลุกขนาดเล็ก ต้นเลื้อยแผ่ตามดิน ลำต้นสลับเป็นฟันปลา ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลม โคนเว้า ขนาด 2.0-3.5 ซม. ก้านใบยาวไม่เกิน 3 มม. เส้นใบเรียงแบบนิ้วมือ จำนวน 5-7 เส้น ผิวใบด้านบนมันเกลี้ยงด้านล่างมีขนปกคลุม ขอบใบมีขนแข็งและเป็นคลื่นเล็กน้อย ดอกเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. ดอกรูปรียาว กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ลักษณะค่อนข้างกลม กว้าง 3-6 ซม. ยาว 4-8 มม. ส่วนปลายมีลักษณะเป็นรยางค์ยาวยื่นออกไป กว้าง 1.5-2 มม. ยาว 2-3 มม. ผลเป็นผลแห้ง แก่แบ้วแตก รูปรีแกมกว้าง มีสันชัดเจน ขนาดกว้าง 1.2-1.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. ก้านผลยาว 1-1.5 ซม. เมล็ดเป็นรูปสามเหลี่ยมแกมรูปไข่ ไม่มีปีก
-
ไม้ล้มลุกขนาดเล็ก ต้นเลื้อยแผ่ตามดิน ลำต้นสลับเป็นฟันปลา ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลม โคนเว้า ขนาด 2.0-3.5 ซม. ก้านใบยาวไม่เกิน 3 มม. เส้นใบเรียงแบบนิ้วมือ จำนวน 5-7 เส้น ผิวใบด้านบนมันเกลี้ยงด้านล่างมีขนปกคลุม ขอบใบมีขนแข็งและเป็นคลื่นเล็กน้อย ดอกเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. ดอกรูปรียาว กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ลักษณะค่อนข้างกลม กว้าง 3-6 ซม. ยาว 4-8 มม. ส่วนปลายมีลักษณะเป็นรยางค์ยาวยื่นออกไป กว้าง 1.5-2 มม. ยาว 2-3 มม. ผลเป็นผลแห้ง แก่แบ้วแตก รูปรีแกมกว้าง มีสันชัดเจน ขนาดกว้าง 1.2-1.5 ซม. ยาว 1.5 ซม. ก้านผลยาว 1-1.5 ซม. เมล็ดเป็นรูปสามเหลี่ยมแกมรูปไข่ ไม่มีปีก
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดในเอเซียตะวันออกเฉียงมต้ โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ขึ้นตามดินทรายหรือดินเค็มที่ระดับความสูง 100-200 เมตร
-
Cambodia, NE & E Thailand
-
มีถิ่นกำเนิดในเอเซียตะวันออกเฉียงมต้ โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ขึ้นตามดินทรายหรือดินเค็มที่ระดับความสูง 100-200 เมตร
-
มีถิ่นกำเนิดในเอเซียตะวันออกเฉียงมต้ โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ขึ้นตามดินทรายหรือดินเค็มที่ระดับความสูง 100-200 เมตร
-
มีถิ่นกำเนิดในเอเซียตะวันออกเฉียงมต้ โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ขึ้นตามดินทรายหรือดินเค็มที่ระดับความสูง 100-200 เมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ล้มลุก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Open sandy soil, 100 − 200 m.
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Decalobanthus mammosus
Hopea griffithii
Brachycorythis acuta
Bauhinia ferruginea
Trichosteleum stigmosum
Chaetomitrium elongatum
Previous
Next