Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Saxicola jerdoni
Saxicola jerdoni
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Saxicola jerdoni
(Blyth, 1867)
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Jerdon's Bushchat
-
Jerdon’s Bushchat
ชื่อไทย:
-
นกยอดหญ้าหลังดำ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Muscicapidae
สกุล:
Saxicola
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
3 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 16:22 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 16:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
15 cm. Male : Glossy black upperpart and clean white underpart. Female
: brown upperpart and rufous rump; whitish throat contrasting with pale
buff brown breast. Like female Grey Bushcaht : S. ferrea but no
supercilium, longer and darker tail.
-
นกขนาดเล็ก ( 16 ชม .) ตัวผู้ด้านบนลำตัวสีดำเป็นมัน ด้านล่างลำตัวสีขาว ตัวเมียสีเทาไม่มีคิ้ว และไม่มีลายขีดทางด้านบนลำตัว ด้านล่างลำตัวสีจะจางกว่า สีสันของคอหอย และอกไม่ตัดกัน
ระบบนิเวศ :
-
Tall grass, scrub, usually near river up to 1,650 m.
-
พบตามป่าหญ้า และป่าละเมาะบริเวณใกล้แหล่งน้ำ มักพบเกาะตามยอดกก อ้อ หรือพงที่ขึ้นอยู่ในน้ำ หรือชายน้ำ บินลงมายังชายฝั่ง หรือบนพื้นดินเพื่อจิกอาหารซึ่งได้แก่ แมลงต่างๆ บางครั้งก็โฉบจับแมลงกลางอากาศใกล้ๆ กับที่เกาะ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่,เชียงราย,น่าน
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Chiang Mai (Tha Ton, Mae Ai); Chiang Rai (Chiang Saen) and Nan (Doi
Phu Kha NP).
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ทำรังด้วยรากฝอยและใบหญ้าที่ฉีกละเอียดเป็นรูปถ้วยตามพื้นดินระหว่างกอพืช หรือรากพืชต่างๆ ไข่สีน้ำเงิน ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 13-14 วัน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2560)
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
ONEP Biodiversity Series Vol. 15 : Thailand Red Data : Birds
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Rana taipehensis
Nemipterus tambuloides
ปาดจิ๋วพม่า
Feihyla vittata
แตนเบียนอูเอนเซอร์ตัส-หนอนม้วนใบกล้วย
Ooencyrtus erionotae
รากกล้วยจุด
Acantopsis dinema
Holothuria
Previous
Next