Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Sauropus bacciformis
Sauropus bacciformis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Sauropus bacciformis
(L.) Airy Shaw
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
สร้อยนกเขา
ชื่อท้องถิ่น::
-
ทองแล้ง (ตะวันออก), มะพร้าวนกเขา
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Phyllanthaceae
สกุล:
Synostemon
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:35 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:35 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ลุ้มลูก สูง 20-60 ซม. ใบ เดี่ยว ออกสลับ รูปรี หรือขอบขนาน ยาว 1-2 ซม กว้าง 0.5-2 มม. ขอบเรียบ ปลายแหลม หูใบ รูปสามเหลี่ยม เมื่อแก่จะหลุดร่วง ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ เป็นช่อแบบกระจุก ออกที่ซอกใบ กลีบเลี้ยง 6 กลีบ กลีบดอก ก้านช่อดอกยาว 1-3 มม. ดอกเพศเมีย ดอกเดี่ยว เส้นผ่าศูนย์กลาง 3-5 มม. กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รังไข่ เหนือวงกลีบ รูปรี ยาว 0.5-2 มม. มี 3 พู ก้านชูเกสร แยก 2 แฉก รูปเคียว ผลแบบแห้งแตก รูปไข่ยาว 5-8 มม. กว้าง 3-4 มม. เมื่อแก่จะแตกตามรอยประสาน เมล็ด รูปสามเหลี่ยม ยาว 3-5 มม. สีน้ำตาล
-
ไม้ลุ้มลูก สูง 20-60 ซม. ใบ เดี่ยว ออกสลับ รูปรี หรือขอบขนาน ยาว 1-2 ซม กว้าง 0.5-2 มม. ขอบเรียบ ปลายแหลม หูใบ รูปสามเหลี่ยม เมื่อแก่จะหลุดร่วง ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้ เป็นช่อแบบกระจุก ออกที่ซอกใบ กลีบเลี้ยง 6 กลีบ กลีบดอก ก้านช่อดอกยาว 1-3 มม. ดอกเพศเมีย ดอกเดี่ยว เส้นผ่าศูนย์กลาง 3-5 มม. กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รังไข่ เหนือวงกลีบ รูปรี ยาว 0.5-2 มม. มี 3 พู ก้านชูเกสร แยก 2 แฉก รูปเคียว ผลแบบแห้งแตก รูปไข่ยาว 5-8 มม. กว้าง 3-4 มม. เมื่อแก่จะแตกตามรอยประสาน เมล็ด รูปสามเหลี่ยม ยาว 3-5 มม. สีน้ำตาล
การกระจายพันธุ์ :
-
มอริเชียส อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาเลเซีย บอร์เนียว ชวา และสุลาเวสี ในประเทศไทยพบทุกภาคยกเว้นภาคเหนือ พบตามดินทรายเค็ม ดินเหนียว โดยเฉพาะริมหาด อาจพบตามทุ่งหญ้าริมถนน ระดับความสูง 0-200 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
-
มอริเชียส อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาเลเซีย บอร์เนียว ชวา และสุลาเวสี ในประเทศไทยพบทุกภาคยกเว้นภาคเหนือ พบตามดินทรายเค็ม ดินเหนียว โดยเฉพาะริมหาด อาจพบตามทุ่งหญ้าริมถนน ระดับความสูง 0-200 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ประจวบคีรีขันธ์
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติสามร้อยยอด
ที่มาของข้อมูล
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Perotis hordeiformis
Prosaptia obliquata
Strobilanthes corrugata
สาหร่ายข้าวเหนียว
Utricularia aurea
Psychotria polycarpa
Arisaema pachystachyum
Previous
Next