Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Sauropus androgynus
Sauropus androgynus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Sauropus androgynus
(L.) Merr.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
ผักหวานบ้าน
ชื่อท้องถิ่น::
-
ผักหวานบ้าน ภาคเหนือ: ผักหวานก้านตง จ๊าผักหวาน ใต้ใบใหญ่ โถหลุ่ยกะนีเต๊าะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); ภาคใต้ : มะยมป่า (ประจวบคีรีขันธ์) ผักหวานใต้ใบ (สตูล), นานาเซียม (มลายู-สตูล) ; จีน และมาเลเซีย : นานาเซียม
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Phyllanthaceae
สกุล:
Breynia
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 19:04 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 19:04 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มขนาดกลาง สูงประมาณ 2-3 เมตร ลำต้นแข็ง
ลำต้น : ลำต้นกลมหรือค่อนข้างเป็นเหลี่ยม ตั้งตรง
เปลือกต้น :เปลือกต้นขรุขระ สีน้ำตาล กิ่งอ่อนสีเขียวเข้มผิวเรียบ แตกกิ่งก้านระนาบกับพื้นหรือเกือบปรกดิน กิ่งเรียวงอเล็กน้อยตามข้อ
ใบ : ใบเดี่ยวเรียงสลับ ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอ่อน รูปไข่แกมขอบขนาน รูปขอบขนาน หรือรูปคล้ายขนมเปียกปูน ยาว 4-8 เซนติเมตร กว้าง 2-5 เซนติเมตร โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ สีเขียวเข้ม มีแถบสีขาวบริเวณกลางใบ ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน มีหูใบ มีใบประดับรูปสามเหลี่ยม ปลายแหลม
ดอก : ดอกเดี่ยว แยกเพศ ออกบริเวณซอกใบ เรียงตามก้านใบ โดยมีใบปรกอยู่ด้านบน ดอกขนาดเล็ก มี 2 ชนิด ตอนบนของกิ่งก้านจะเป็นดอกเพศเมีย ส่วนตอนล่างจะเป็นดอกเพศผู้ มีดอกเพศเมีย 1-3 ดอก ดอกเพศผู้จำนวนมาก ดอกเพศผู้มีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ กลีบดอก 6 กลีบ รูปจานกลมแบน สีน้ำตาลแดง ขนาด 0.5-1 เซนติเมตร เกสรเพศผู้มี 3 อัน ก้านเกสรเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 3 แฉก ดอกเพศเมียมีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ ดอกสีเขียวอมเหลือง มีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปไข่กลับ เหลื่อมซ้อนกันคล้ายเรียงสองชั้น ชั้นละ 3 กลีบ กลีบเลี้ยงสีแดงเข้มหรือสีเหลืองจุดประสีแดงเข้ม
ผล : ผลแห้ง แตกได้ ทรงกลมแป้น สีเขียวอ่อน ฉ่ำน้ำ ขนาดประมาณ 1.5 เซนติเมตร เมื่อแก่เต็มที่มีสีขาวอมเหลือง มีกลีบเลี้ยงสีแดงติดคงทน ภายในผลแบ่งเป็น 6 พู แต่ละพูมี 1 เมล็ด
เมล็ด : เมล็ดเป็นรูปครึ่งวงกลม เปลือกเมล็ดสีน้ำตาลเข้ม หนา และแข็ง พบตามป่าดิบแล้ง ป่าละเมาะ ที่รกร้าง ป่าดิบชื้น ที่โล่งแจ้ง ตามเรือกสวน ออกดอกตลอดปี
ยอกอ่อน : ยอดอ่อน เมื่อลวก นึ่ง ใช้รับประทานเป็นผัก
-
ไม้พุ่มขนาดกลาง สูงประมาณ 2-3 เมตร ลำต้นแข็ง
ลำต้น : ลำต้นกลมหรือค่อนข้างเป็นเหลี่ยม ตั้งตรง
เปลือกต้น :เปลือกต้นขรุขระ สีน้ำตาล กิ่งอ่อนสีเขียวเข้มผิวเรียบ แตกกิ่งก้านระนาบกับพื้นหรือเกือบปรกดิน กิ่งเรียวงอเล็กน้อยตามข้อ
ใบ : ใบเดี่ยวเรียงสลับ ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอ่อน รูปไข่แกมขอบขนาน รูปขอบขนาน หรือรูปคล้ายขนมเปียกปูน ยาว 4-8 เซนติเมตร กว้าง 2-5 เซนติเมตร โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ สีเขียวเข้ม มีแถบสีขาวบริเวณกลางใบ ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน มีหูใบ มีใบประดับรูปสามเหลี่ยม ปลายแหลม
ดอก : ดอกเดี่ยว แยกเพศ ออกบริเวณซอกใบ เรียงตามก้านใบ โดยมีใบปรกอยู่ด้านบน ดอกขนาดเล็ก มี 2 ชนิด ตอนบนของกิ่งก้านจะเป็นดอกเพศเมีย ส่วนตอนล่างจะเป็นดอกเพศผู้ มีดอกเพศเมีย 1-3 ดอก ดอกเพศผู้จำนวนมาก ดอกเพศผู้มีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ กลีบดอก 6 กลีบ รูปจานกลมแบน สีน้ำตาลแดง ขนาด 0.5-1 เซนติเมตร เกสรเพศผู้มี 3 อัน ก้านเกสรเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 3 แฉก ดอกเพศเมียมีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ ดอกสีเขียวอมเหลือง มีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปไข่กลับ เหลื่อมซ้อนกันคล้ายเรียงสองชั้น ชั้นละ 3 กลีบ กลีบเลี้ยงสีแดงเข้มหรือสีเหลืองจุดประสีแดงเข้ม
ผล : ผลแห้ง แตกได้ ทรงกลมแป้น สีเขียวอ่อน ฉ่ำน้ำ ขนาดประมาณ 1.5 เซนติเมตร เมื่อแก่เต็มที่มีสีขาวอมเหลือง มีกลีบเลี้ยงสีแดงติดคงทน ภายในผลแบ่งเป็น 6 พู แต่ละพูมี 1 เมล็ด
เมล็ด : เมล็ดเป็นรูปครึ่งวงกลม เปลือกเมล็ดสีน้ำตาลเข้ม หนา และแข็ง พบตามป่าดิบแล้ง ป่าละเมาะ ที่รกร้าง ป่าดิบชื้น ที่โล่งแจ้ง ตามเรือกสวน ออกดอกตลอดปี
ยอกอ่อน : ยอดอ่อน เมื่อลวก นึ่ง ใช้รับประทานเป็นผัก
-
ไม้พุ่มขนาดกลาง สูงประมาณ 2-3 เมตร ลำต้นแข็ง
ลำต้น : ลำต้นกลมหรือค่อนข้างเป็นเหลี่ยม ตั้งตรง
เปลือกต้น :เปลือกต้นขรุขระ สีน้ำตาล กิ่งอ่อนสีเขียวเข้มผิวเรียบ แตกกิ่งก้านระนาบกับพื้นหรือเกือบปรกดิน กิ่งเรียวงอเล็กน้อยตามข้อ
ใบ : ใบเดี่ยวเรียงสลับ ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอ่อน รูปไข่แกมขอบขนาน รูปขอบขนาน หรือรูปคล้ายขนมเปียกปูน ยาว 4-8 เซนติเมตร กว้าง 2-5 เซนติเมตร โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ สีเขียวเข้ม มีแถบสีขาวบริเวณกลางใบ ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน มีหูใบ มีใบประดับรูปสามเหลี่ยม ปลายแหลม
ดอก : ดอกเดี่ยว แยกเพศ ออกบริเวณซอกใบ เรียงตามก้านใบ โดยมีใบปรกอยู่ด้านบน ดอกขนาดเล็ก มี 2 ชนิด ตอนบนของกิ่งก้านจะเป็นดอกเพศเมีย ส่วนตอนล่างจะเป็นดอกเพศผู้ มีดอกเพศเมีย 1-3 ดอก ดอกเพศผู้จำนวนมาก ดอกเพศผู้มีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ กลีบดอก 6 กลีบ รูปจานกลมแบน สีน้ำตาลแดง ขนาด 0.5-1 เซนติเมตร เกสรเพศผู้มี 3 อัน ก้านเกสรเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 3 แฉก ดอกเพศเมียมีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ ดอกสีเขียวอมเหลือง มีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปไข่กลับ เหลื่อมซ้อนกันคล้ายเรียงสองชั้น ชั้นละ 3 กลีบ กลีบเลี้ยงสีแดงเข้มหรือสีเหลืองจุดประสีแดงเข้ม
ผล : ผลแห้ง แตกได้ ทรงกลมแป้น สีเขียวอ่อน ฉ่ำน้ำ ขนาดประมาณ 1.5 เซนติเมตร เมื่อแก่เต็มที่มีสีขาวอมเหลือง มีกลีบเลี้ยงสีแดงติดคงทน ภายในผลแบ่งเป็น 6 พู แต่ละพูมี 1 เมล็ด
เมล็ด : เมล็ดเป็นรูปครึ่งวงกลม เปลือกเมล็ดสีน้ำตาลเข้ม หนา และแข็ง พบตามป่าดิบแล้ง ป่าละเมาะ ที่รกร้าง ป่าดิบชื้น ที่โล่งแจ้ง ตามเรือกสวน ออกดอกตลอดปี
ยอกอ่อน : ยอดอ่อน เมื่อลวก นึ่ง ใช้รับประทานเป็นผัก
-
ไม้พุ่มขนาดกลาง สูงประมาณ 2-3 เมตร ลำต้นแข็ง
ลำต้น : ลำต้นกลมหรือค่อนข้างเป็นเหลี่ยม ตั้งตรง
เปลือกต้น :เปลือกต้นขรุขระ สีน้ำตาล กิ่งอ่อนสีเขียวเข้มผิวเรียบ แตกกิ่งก้านระนาบกับพื้นหรือเกือบปรกดิน กิ่งเรียวงอเล็กน้อยตามข้อ
ใบ : ใบเดี่ยวเรียงสลับ ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอ่อน รูปไข่แกมขอบขนาน รูปขอบขนาน หรือรูปคล้ายขนมเปียกปูน ยาว 4-8 เซนติเมตร กว้าง 2-5 เซนติเมตร โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ สีเขียวเข้ม มีแถบสีขาวบริเวณกลางใบ ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน มีหูใบ มีใบประดับรูปสามเหลี่ยม ปลายแหลม
ดอก : ดอกเดี่ยว แยกเพศ ออกบริเวณซอกใบ เรียงตามก้านใบ โดยมีใบปรกอยู่ด้านบน ดอกขนาดเล็ก มี 2 ชนิด ตอนบนของกิ่งก้านจะเป็นดอกเพศเมีย ส่วนตอนล่างจะเป็นดอกเพศผู้ มีดอกเพศเมีย 1-3 ดอก ดอกเพศผู้จำนวนมาก ดอกเพศผู้มีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ กลีบดอก 6 กลีบ รูปจานกลมแบน สีน้ำตาลแดง ขนาด 0.5-1 เซนติเมตร เกสรเพศผู้มี 3 อัน ก้านเกสรเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 3 แฉก ดอกเพศเมียมีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ ดอกสีเขียวอมเหลือง มีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปไข่กลับ เหลื่อมซ้อนกันคล้ายเรียงสองชั้น ชั้นละ 3 กลีบ กลีบเลี้ยงสีแดงเข้มหรือสีเหลืองจุดประสีแดงเข้ม
ผล : ผลแห้ง แตกได้ ทรงกลมแป้น สีเขียวอ่อน ฉ่ำน้ำ ขนาดประมาณ 1.5 เซนติเมตร เมื่อแก่เต็มที่มีสีขาวอมเหลือง มีกลีบเลี้ยงสีแดงติดคงทน ภายในผลแบ่งเป็น 6 พู แต่ละพูมี 1 เมล็ด
เมล็ด : เมล็ดเป็นรูปครึ่งวงกลม เปลือกเมล็ดสีน้ำตาลเข้ม หนา และแข็ง พบตามป่าดิบแล้ง ป่าละเมาะ ที่รกร้าง ป่าดิบชื้น ที่โล่งแจ้ง ตามเรือกสวน ออกดอกตลอดปี
ยอกอ่อน : ยอดอ่อน เมื่อลวก นึ่ง ใช้รับประทานเป็นผัก
การขยายพันธุ์ :
-
การปักชำหรือเมล็ด
-
การปักชำหรือเมล็ด
-
การปักชำหรือเมล็ด
-
การปักชำหรือเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สุรินทร์
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Polytrias amaura
Lasianthus penicillatus
Dufrenoya sessilis
Premna pyramidata
Brandisia discolor
Dichapetalum gelonioides
Previous
Next