Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Saraca thaipingensis
Saraca thaipingensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Saraca thaipingensis
Prain
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Jonesia declinata Binn.
- Saraca thaipingensis Cantley
ชื่อไทย::
-
โสกเหลือง
-
ศรียะลา
ชื่อท้องถิ่น::
-
อโศกเหลือง อโศกใหญ่ ศรียะลา
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Saraca
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 เมตร ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อย 4-8 คู่ รูปไข่ถึงรูปขอบขนานแกมใบหอก กว้าง 3-9 ซม. ยาว 7-30 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบถึงมนกลม ใบอ่อนห้อยลง ออกสีแกมม่วง ดอก สีเหลืองสด ออกเป็นช่อ ขนาด 15-35 ซม. ใบประดับรูปไข่ ดอกย่อยจำนวนมาก ฐานรองดอกเชื่อมเป็นหลอด แคบ ยาว 1.2-2.6 ซม. กลีบรองดอก 4 กลีบ ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้ 4-6 อัน รังไข่มีขน ผล สีม่วงอมแดง เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน กว้าง 3.5-8 ซม. ยาว 15-40 ซม. เมื่อแก่แล้วแตกด้านข้าง
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 เมตร ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อย 4-8 คู่ รูปไข่ถึงรูปขอบขนานแกมใบหอก กว้าง 3-9 ซม. ยาว 7-30 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบถึงมนกลม ใบอ่อนห้อยลง ออกสีแกมม่วง ดอก สีเหลืองสด ออกเป็นช่อ ขนาด 15-35 ซม. ใบประดับรูปไข่ ดอกย่อยจำนวนมาก ฐานรองดอกเชื่อมเป็นหลอด แคบ ยาว 1.2-2.6 ซม. กลีบรองดอก 4 กลีบ ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้ 4-6 อัน รังไข่มีขน ผล สีม่วงอมแดง เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน กว้าง 3.5-8 ซม. ยาว 15-40 ซม. เมื่อแก่แล้วแตกด้านข้าง
การกระจายพันธุ์ :
-
นิเวศวิทยา เมียนม่าห์ จนถึงอินโดนีเซีย ประเทศไทยพบตามป่าดงดิบใกล้ริมน้ำทางภาคใต้ ปัจจุบันพบ ปลูกประดับทั่วไป ออกดอกช่วงเดือน มกราคม-เมษายน
-
Burma, Malay Pen, Pen Thailand
-
นิเวศวิทยา เมียนม่าห์ จนถึงอินโดนีเซีย ประเทศไทยพบตามป่าดงดิบใกล้ริมน้ำทางภาคใต้ ปัจจุบันพบ ปลูกประดับทั่วไป ออกดอกช่วงเดือน มกราคม-เมษายน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Tropical rain forest, 100 − 500 m.
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
-
อุทยานแห่งชาติ บูโด-สุไหงปาดี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ปัตตานี
-
นราธิวาส
-
ชุมพร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2020)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2020)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2549)
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Cymbidium rectum
Dufrenoya robusta
Pinus devoniana
ชันรูจี
Parishia pubescens
Pholidota longibulba
Diacalpe aspidioides
Previous
Next