Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Salvinia cucullata
Salvinia cucullata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Salvinia cucullata
Bory
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Asian Watermoss
ชื่อไทย:
-
จอกหูหนู
ชื่อท้องถิ่น::
-
จอกหูหนู
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Polypodiopsida
อันดับ:
Salviniales
วงศ์::
Salviniaceae
สกุล:
Salvinia
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 02:47 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 02:47 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Aquatic fern.
-
พืชลอยน้ำจำพวกเฟิน ลำต้น กลม แตกกิ่งก้านสาขาบริเวณผิวน้ำ ใบ เกิดตามข้อลำต้นจำนวน 3 ใบ ใบลอยน้ำ คู่หนึ่งชูเหนือน้ำลักษณะแผ่นใบห่อตัวคล้ายถ้วย ขนาด 12 ซม. เรียงชิดกัน ผิวด้านบนและด้านล่างมีขนปกคลุม ส่วนใบที่ 3 เป็นใบที่สร้างสปอร์จะจมอยู่ใต้น้ำมีลักษณะเรียวยาวเป็นฝอย อับสปอร์ลักษณะเป็นเม็ดกลม สีน้ำตาลเข้ม เกิดบริเวณซอกใบ
-
พืชลอยน้ำจำพวกเฟิน ลำต้น กลม แตกกิ่งก้านสาขาบริเวณผิวน้ำ ใบ เกิดตามข้อลำต้นจำนวน 3 ใบ ใบลอยน้ำ คู่หนึ่งชูเหนือน้ำลักษณะแผ่นใบห่อตัวคล้ายถ้วย ขนาด 12 ซม. เรียงชิดกัน ผิวด้านบนและด้านล่างมีขนปกคลุม ส่วนใบที่ 3 เป็นใบที่สร้างสปอร์จะจมอยู่ใต้น้ำมีลักษณะเรียวยาวเป็นฝอย อับสปอร์ลักษณะเป็นเม็ดกลม สีน้ำตาลเข้ม เกิดบริเวณซอกใบ
ระบบนิเวศ :
-
Floating on water in open places.
การกระจายพันธุ์ :
-
India, Indochina, Peninsular Malaysia to Sumatra.
-
มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนตอนบนของทวีปเอเชีย และแอฟริกา เป็นพืชลอยน้ำที่ชอบแสงแดด พบขึ้นกระจายตามแหล่งน้ำขังในทุ่งนา หรือบึงน้ำจืดทั่วไป
-
มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนตอนบนของทวีปเอเชีย และแอฟริกา เป็นพืชลอยน้ำที่ชอบแสงแดด พบขึ้นกระจายตามแหล่งน้ำขังในทุ่งนา หรือบึงน้ำจืดทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChiangMai,PhraNakhonSiAyutthaya,PathumThani,PrachuapKhiriKhan,SuratThani
-
พระนครศรีอยุธยา, สมุทรสงคราม, หนองคาย
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
สงขลา
-
ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
ทะเลสาบสงขลา
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ถิ่นกำเนิด :
-
ระบบนิเวศน้ำกร่อย
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA430459
430459
2
PRJNA385013
385013
3
PRJNA384992
384992
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Schoenus falcatus
เสือดาว
Gastrochilus bigibbus
Cyclosorus latebrosus
Bulbophyllum rubroguttatum
Brachymenium longicolle
ช้าส้าน
Saurauia napaulesis
Previous
Next