Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Rusa unicolor
Rusa unicolor
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Rusa unicolor
(Kerr, 1792)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Cervus unicolor Kerr, 1792
ชื่อสามัญ::
-
sambar deer
-
Sambar
ชื่อไทย::
-
กวางป่า(กวางม้า)
-
กวางป่า
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Mammalia
อันดับ:
Artiodactyla
วงศ์::
Cervidae
สกุล:
Rusa
วันที่อัพเดท :
2 ก.ค. 2562 10:41 น.
วันที่สร้าง:
2 ก.ค. 2562 10:41 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
กวางป่าเป็นสัตว์จำพวกกวางที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่มีในประเทศไทยและในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กวางป่าเพศผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย ขนของกวางป่าจะหยาบแข็ง และไม่ขึ้นถี่อย่างขนเก้ง ขนมีสีเทาน้ำตาลแกมเหลืองอ่อน สีไม่ฉูดฉาดอย่างสีขนกวางดาวและเก้ง ขนตามตัวยาวประมาณ 2 4 เซนติเมตร ขนรอบคอของกวางป่าเพศผู้ค่อนข้างยาว คือยาวประมาณ 7 10 เซนติเมตร ขนบริเวณท้องและก้นขึ้นห่างกว่าบริเวณอื่นและสีขนอ่อนกว่าบนหลัง หางเป็นพวงค่อนข้างสั้น มีแอ่งน้ำตาขนาดใหญ่ที่หัวตาข้างละแห่ง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พบการกระจายพันธุ์ในกลุ่มประเทศเอเชียใต้ เช่น อินเดีย เนปาล ศรีลังกา กลุ่มประเทศเอเชียตะวนออกเฉียงใต้ คือ เมียนมาร์ ไทย มาเลเซีย ลาว กัมพูชา เวียดนาม อินโดจีน และบริเวณจีนตอนใต้ สำหรับประเทศไทย พบตามป่าดงดิบทั่วไปทุกภาคทั้งป่าสูงและป่าต่ำ
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
สถานที่ชม :
-
สวนสัตว์เปิดเขาเขียว,สวนสัตว์เชียงใหม่,สวนสัตว์นครราชสีมา,สวนสัตว์ขอนแก่น,สวนสัตว์สงขลา,สวนสัตว์อุบลราชธานี
การกระจายพันธุ์ :
-
เกือบทั่วประเทศ ยกเว้นบางส่วนของภาคตะวันนอกเฉียงเหนือและภาคกลาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เกือบทั่วประเทศ ยกเว้นบางส่วนของภาคตะวันนอกเฉียงเหนือและภาคกลาง
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
บุรีรัมย์
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อื่นๆ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2015)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2015)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJEB40672
757308
2
PRJEB31371
742576
3
PRJEB35849
690350
4
PRJEB38078
674148
5
PRJNA622243
622243
6
PRJNA428557
428557
7
PRJNA355630
355630
8
PRJNA353399
353399
9
PRJNA17883
17883
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ornebius tuberculatus
ค้างคาวมงกุฎเทาแดง
Rhinolophus affinis
Epinephelus hexagonatus
Metochus uniguttatus
Rogadias serratus
หอยเจดีย์เวียนอิจิมา
Neoprososthenia iijimai
Previous
Next