Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Rhynchobatus palpebratus
Rhynchobatus palpebratus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Rhynchobatus palpebratus
Compagno & Last, 2008
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Eyebrow wedgefish
-
Eyebrow Wedgefish
ชื่อไทย::
-
โรนันจุดขาว, โรนันคิ้วดำ, โรนันคิ้วขาว, โรนัน
-
โรนันคิ้วขาว
-
ปลาโรนันจุดขาว, ปลาโรนันคิ้วดำ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Rhinopristiformes
วงศ์::
Rhinidae
สกุล:
Rhynchobatus
ที่มา :
Compagno and Last (2008)
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 00:00 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ทะเลอันดามัน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 262 ซม. ขนาดทั่วไปที่พบ 70-90 ซม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 103 ซม.
- ปลายจะงอยปากแหลมรูปลิ่ม ส่วนใหญ่ครีบหลังอันแรกมีจุดเริ่มต้นอยู่ตรงกับจุดเริ่มต้นครีบท้อง แต่บางตัวอาจอยู่หน้าหรือหลังจุดเริ่มต้นครีบท้องเล็กน้อย มีเส้นโค้งสีดำที่เปลือกตาด้านบน บางตัวมีจุดดำเป็นคู่อยู่ตอนท้ายรูช่วยหายใจ ด้านล่างปลายจะงอยปากมีรอยด่างสีดำจางๆ เป็นกลุ่มใหญ่ และมีกระดูกสันหลังจำนวน 130-147 ข้อ ลำตัวสีน้ำตาลเทา ถึงน้ำตาลออกเหลือง มีจุดสีขาว 4-5 จุดรอบจุดสีดำที่อยู่ตอนท้ายของส่วนหัว ซึ่งพบประปรายถึงเหนือครีบท้อง และมีเส้นสีขาวทอดยาวข้างลำตัวตั้งแต่ท้ายครีบหลังถึงโคนหาง ส่วนด้านท้องมีสีขาว
- มีรายงานข้อมูลชีววิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว โดยตัวอ่อนได้รับสารอาหารจากถุงไข่แดง ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก หอย กุ้งและปูเป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นท้องทะเลที่เป็นโคลนหรือทรายตามชายฝั่งทะเลและแนวปะการัง จนถึงระดับความลึกน้ำ 61 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบเฉพาะทางฝั่งทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อนำมาบริโภค หรือแปรรูปตากแห้ง และครีบใช้ทำหูฉลามตากแห้ง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง Critically Endangered: CR (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง Critically Endangered: CR (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2560)
บัญชีแนบท้ายประกาศอนุสัญญา Cites
CITES โลก
- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2019-11-26)
CITES ไทย
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Paracrostoma pseudosulcospira
Alionematichthys riukiuensis
Fungia echinata
Monomia gladiator
Fowleria variegata
Brachidontes setiger
Previous
Next