Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Rhus javanica
Rhus javanica
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Rhus javanica
L.
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Kok kan
ชื่อไทย::
-
ส้มผด
-
มะผด
-
กอกกัน
ชื่อท้องถิ่น::
-
มะเหลี่ยมหิน มะผด มะพอด ระยุ ระโยะ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Sapindales
วงศ์::
Simaroubaceae
สกุล:
Brucea
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดเล็กหรือไม้พุ่ม สูงถึง 6 เมตร ใบ ประกอบ ใบย่อยมี 3 - 6 คู่ รูปใบหอกแกมรูปไข่ หรือรูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 2.0-7.5 ซม. ยาว 3.5-12 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนงที่ปลายยอด มีขนนุ่มปกคลุม กลีบดอกรูปไข่ หรือรูปขอบขนาน กว้าง ประมาณ 2 มม ยาว 1.8 มม สีเหลือง ผล ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5 ซม. มีขนสีน้ำตาลแดง หรือเกือบเกลี้ยง
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้นขนาดเล็กหรือไม้พุ่ม สูงถึง 6 เมตร ใบ ประกอบ ใบย่อยมี 3 - 6 คู่ รูปใบหอกแกมรูปไข่ หรือรูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 2.0-7.5 ซม. ยาว 3.5-12 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนงที่ปลายยอด มีขนนุ่มปกคลุม กลีบดอกรูปไข่ หรือรูปขอบขนาน กว้าง ประมาณ 2 มม ยาว 1.8 มม สีเหลือง ผล ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5 ซม. มีขนสีน้ำตาลแดง หรือเกือบเกลี้ยง
การกระจายพันธุ์ :
-
พบการกระจายพันธุ์ในเขตกึ่งร้อน และเขตอบอุ่นของทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย พม่า จีน ลาว กัมพูชา เวียดนาม ไต้หวัน ญี่ปุ่น เกาะสุมาตรา ประเทศไทยพบในพื้นที่เปิดในป่าดิบ ที่ระดับ 900-1200 ม.จากระดับน้ำทะเล บริเวณภาคเหนือ
-
พบการกระจายพันธุ์ในเขตกึ่งร้อน และเขตอบอุ่นของทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย พม่า จีน ลาว กัมพูชา เวียดนาม ไต้หวัน ญี่ปุ่น เกาะสุมาตรา ประเทศไทยพบในพื้นที่เปิดในป่าดิบ ที่ระดับ 900-1200 ม.จากระดับน้ำทะเล บริเวณภาคเหนือ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
เพชรบูรณ์
-
สระบุรี
-
ชัยภูมิ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เสม็ดแดงปลายใบติ่ง
Syzygium urophyllum
เอื้องหมายนา
Costus speciosus
Eria myristiciformis
Mitrephora vulpina
Dendrobium ellipsophyllum
Diospyros variegata
Previous
Next