Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Rhododendron ludwigianum
Rhododendron ludwigianum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Rhododendron ludwigianum
Hosseus
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
คำขาวเชียงดาว
-
กุหลาบขาว
ชื่อท้องถิ่น::
-
กุหลาบขาวเชียงดาว
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Ericales
วงศ์::
Ericaceae
สกุล:
Rhododendron
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มอิงอาศัย สูง 1.5-3 ม. ลำต้นและกิ่งคดงอ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับเป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง รูปรีแกมรูปไข่กลับ กว้าง 1.5-3.5 ซม. ยาว 3-8 ซม. ผิวใบเข้มเป็นมัน ดอกสีขาวนวล ออกเป็นช่อ จำนวน 2-5 ดอก ที่ปลายกิ่ง รูประฆัง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 8-13 ซม. กลีบดอกยาว 6-9 ซม. ปลายกลีบแยกเป็น 5 แฉก โคนกลีบด้านในมีแต้มสีเหลือง เกสรผู้ 10 อัน ผลเป็นผลแห้ง รูปกระสวยปลายมน ยาว 3 ซม. เมื่อแก่จะแตก เมล็ดแบน ขนาดเล็ก มีปีก
-
ไม้พุ่มอิงอาศัย สูง 1.5-3 ม. ลำต้นและกิ่งคดงอ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับเป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง รูปรีแกมรูปไข่กลับ กว้าง 1.5-3.5 ซม. ยาว 3-8 ซม. ผิวใบเข้มเป็นมัน ดอกสีขาวนวล ออกเป็นช่อ จำนวน 2-5 ดอก ที่ปลายกิ่ง รูประฆัง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 8-13 ซม. กลีบดอกยาว 6-9 ซม. ปลายกลีบแยกเป็น 5 แฉก โคนกลีบด้านในมีแต้มสีเหลือง เกสรผู้ 10 อัน ผลเป็นผลแห้ง รูปกระสวยปลายมน ยาว 3 ซม. เมื่อแก่จะแตก เมล็ดแบน ขนาดเล็ก มีปีก
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพันธุ์ไม้เฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบเฉพาะบนเขาหินปูน ที่ระดับความสูง 1,800-2,200 ม. ของดอยเชียงดาว และดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่เท่านั้น ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
N Thailand: Chiang Mai, Lampang, Phitsanulok
-
เป็นพันธุ์ไม้เฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบเฉพาะบนเขาหินปูน ที่ระดับความสูง 1,800-2,200 ม. ของดอยเชียงดาว และดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่เท่านั้น ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มอิงอาศัย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Lower and upper montane forests and scrubs, on tree trunks or rocks, 1600 − 2200 m.
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
กาวกะปอม
Rhynchosia minima
สีง้ำ
Scyphiphora hydrophylacea
Cyclosorus triphyllus
Brachymenium nepalense
Indigofera kerrii
เบี้ยเชียงดาว
Peperomia masuthoniana
Previous
Next